Page 20 - การจัดการดินด้วยเทคโนโลยีกรมพัฒนาที่ดินที่เหมาะสมต่อการปลูกมันสำปะหลัง ในเขตพื้นที่ไม่เหมาะสมสำหรับการปลูกข้าวโดยเกษตรกรมีส่วนร่วม The LDD Technology Management of Soil Suitable for Growing Cassava in Areas Unsuitable for Rice Cultivation by the Participation of Farmers.
P. 20

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                              20





                   ตารางที่ 5 ค่าเฉลี่ยผลวิเคราะห์ดินก่อนปลูก และหลังเก็บเกี่ยวมันส าปะหลัง ปีการผลิต 2563/64 แปลงเกษตรกร
                                                  pH              OM                P                 K
                            ต ารับ              ดิน : น้ า       (% )             Bray II         NH OAc
                                                                                                     4
                                                  1:1                           (mg / kg)         (mg / kg)

                  ผลวิเคราะห์ดินก่อนการปลูกมันส าปะหลังระดับ 0-25 เซนติเมตร (ปี 2563/64)
                  แปลงที่ 1                       4.4             0.73             18                21


                  แปลงที่ 2                       4.2             0.52             11                28

                  แปลงที่ 3                       4.7             0.66             18                22

                            เฉลี่ย               4.43             0.64            15.66             23.66

                  ผลวิเคราะห์ดินหลังการปลูกมันส าปะหลังระดับ 0-25 เซนติเมตร (ปี 2563/64)

                  แปลงที่ 1                       5.1             0.40             69                20

                  แปลงที่ 2                       6.0             0.27             52                25

                  แปลงที่ 3                       5.8             0.27             45                26


                            เฉลี่ย               5.63             0.31            55.33             23.66

                   หมายเหตุ : 1. แปลงที่ 1 นางวันดี พูลเพิ่ม ม.2 ต.หนองขอน อ.เมือง จ.อุบลราชธานี
                            2. แปลงที่ 2 นางอุทัยวรรณ วงศาสนธิ์ ม.3 ต.บ้านไทย อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี
                            3. แปลงที่ 3 นายพิบูลย์ อ่อนน้อม ม.4 ต.บ้านไทย อ.เขื่องใน จ.อุบลราชธานี


                   4.2 การเจริญเติบโต ผลผลิต และองค์ประกอบผลผลิตมันส าปะหลัง แปลงขยายผลของเกษตรกร

                       การเจริญเติบโตด้านความสูง และทรงพุ่มของต้นมันส าปะหลังพันธุ์ระยอง 72 แปลงถ่ายทอดเทคโนโลยีของ
                   เกษตรกร พบว่า การใส่ปุ๋ยเคมีครึ่งอัตราตามค่าแนะน าร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์คุณภาพสูง อัตรา 50 กิโลกรัม/ไร่ ส่งผลให้ความ

                   สูงต้นมันส าปะหลังที่อายุ 60 120 และ 240 วันหลังปลูก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 72.64  138.14  และ 183.66 เซนติเมตร
                   ส าหรับทรงพุ่มต้นมันส าปะหลังที่อายุ 60 120 และ 240 วันหลังปลูก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 109.98  105.51  และ 83
                   เซนติเมตร

                       ผลผลิต และองค์ประกอบผลผลิตหัวมันส าปะหลังสด พบว่า แปลงเกษตรกรที่ร่วมด าเนินการได้ผลผลิตหัวมัน
                   ส าปะหลังสดเฉลี่ยเท่ากับ 4,844 กิโลกรัมต่อไร่  จ านวนหัวต่อต้นเฉลี่ยเท่ากับ 15 หัวต่อต้น และมีเปอร์เซ็นต์แป้งของ

                   หัวมันส าปะหลังสด เฉลี่ยเท่ากับ 20.47 เปอร์เซ็นต์ (แปลงวิธีเกษตรกรได้ผลผลิตเฉลี่ย 4,230 กิโลกรัมต่อไร่ จ านวนหัว
                   14 หัวต่อต้น)
   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25