Page 47 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 47
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
37
5. สมบัติดินที่เหมาะสมส้าหรับชาน ้ามันเบื องต้น
ผลการน้าข้อมูลความเข้มข้นธาตุอาหารของต้นเกรด A (ผลผลิต >100 ผลต่อต้น) มาประมาณค่า
แบบช่วงที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ เพื่อก้าหนดค่าของสมบัติดินที่เหมาะสมส้าหรับชาน ้ามันเบื องต้น
และเมื่อน้าช่วงความเข้มข้นที่ได้ เปรียบเทียบกับค่าแนะน้าในพืชชนิดอื่นของเมืองไทย (ตารางที่ 6) ชี ให้เห็น
ว่า พีเอชที่เหมาะสมอยู่ในช่วงต่้ากว่าค่าแนะน้าส้าหรับ ส้มโอ (5.50-6.50) แต่มีค่าสูงกว่าค่าแนะน้าส้าหรับ
ยางพารา (4.50-5.50) ส่วนปริมาณอินทรียวัตถุ และโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้อยู่ในช่วงสูงกว่าพืชชนิดอื่น
อย่างเด่นชัด ทั งนี อาจเป็นช่วงที่เหมาะสมส้าหรับชาน ้ามัน หรือเนื่องจากบริเวณพื นที่ศึกษา เพิ่งเริ่มน้าที่ดิน
มาใช้ท้าการเกษตร ประกอบกับแมงกานีสที่สูงอาจขัดขวางการดูดใช้ไนโตรเจน และโพแทสเซียม จึงยังมี
ปริมาณอินทรียวัตถุ (แหล่งของไนโตรเจน) และโพแทสเซียมสะสมอยู่ในดินสูง ในขณะที่ บริเวณที่ท้า
การเกษตรมาอย่างยาวนานแต่การเติมธาตุอาหารน้อยกว่าส่วนที่สูญเสียไปกับผลผลิต ในระยะยาวมักจะมี
ระดับธาตุอาหารอยู่ในระดับต่้า มีรายงานกรณีศึกษาธาตุอาหารที่พืชดูดใช้ในข้าว พบว่า ในตอซังข้าว พบการ
สะสมโพแทสเซียมสูงสุด ส่วนในเมล็ดข้าวพบการสะสมไนโตรเจนสูงสุด ชี ให้เห็นว่า ในระยาวธาตุดังกล่าวอาจ
สูญเสียออกจากพื นที่ในอัตราสูง ส่งผลให้ปริมาณธาตุอาหารในดินอยู่ในระดับต่้า (สุทธิ์เดชา และคณะ, 2562)
ส่วนปริมาณแคลเซียมที่แลกเปลี่ยนได้จากการศึกษาในครั งนี ค่าที่เหมาะสมอยู่ในช่วงต่้ากว่าค่าแนะน้าส้าหรับ
สมโอและดินทั่วไป และแม้จะอยู่ในช่วงเดียวกับยางพารา แต่ค่าที่เหมาะสมอยู่ในช่วงแคบกว่า ทั งนี อาจเป็น
ผลสืบเนื่องจากระดับพีเอชของดิน ซึ่งมีผลต่อความเป็นประโยชน์ของแคลเซียมในดิน เห็นได้จากระดับพีเอชที่
เหมาะสมส้าหรับส้มโออยู่ในช่วงที่สูงกว่า ชาน ้ามัน และยางพารา ตามล้าดับ นอกจากนี พบว่า ค่าที่เหมาะสม
ของแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้อยู่ในช่วงเดียวกับค่าแนะน้าส้าหรับสมโอ และดินทั่วไป เพียงแต่อยู่ในช่วงที่
แคบกว่า ทั งนี การจัดท้าค่ามาตรฐานธาตุอาหารในครั งนี ใช้วิธีประเมินจากต้นที่ให้ผลผลิตสูง จึงมีโอกาสได้ค่า
สูงเกินความเป็นจริง เช่น กรณีของค่าแนะน้าปริมาณอินทรียวัตถุและโพแทสเซียมที่อยู่ในช่วงสูงกว่าพืชชนิด
อื่นอย่างเด่นชัด เนื่องจากวิธีดังกล่าวอาจรวมส่วนที่พืชบริโภคฟุ่มเฟือย ซึ่งถึงแม้พืชจะดูดใช้ธาตุอาหารเพิ่มขึ นแต่
ไม่สามารถเพิ่มผลผลิตให้สูงได้อีก (จ้าเป็น และคณะ, 2549) การน้าเกณฑ์มาตรฐานที่ได้ไปใช้จึงควรสังเกตการ
ตอบสนองของพืชควบคู่ไปด้วยกัน อย่างไรก็ตาม จากการศึกษาในครั งนี ปริมาณธาตุอาหารที่สูงในดินยังไม่ได้
มีผลให้พืชได้รับธาตุอาหารสูงจนท้าให้ผลผลิตลดลงหรือแสดงความเป็นพิษ ยกเว้น กรณีของแมงกานีส ที่อาจ
แสดงความเป็นพิษบริเวณใบชาน ้ามัน และมีผลเชิงลบต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารชนิดอื่น จึงไม่ได้
จัดท้าค่ามาตรฐานของธาตุดังกล่าว
6. การก้าหนดระดับธาตุอาหารที่เหมาะสมในใบชาน ้ามันเบื องต้น
ผลการน้าข้อมูลความเข้มข้นธาตุอาหารในใบของต้นชาเกรด A (ผลผลิต >100 ผลต่อต้น) มา
ประมาณค่าแบบช่วงที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ เพื่อก้าหนดระดับธาตุอาหารที่เหมาะสมในใบชา
น ้ามันเบื องต้น และเมื่อน้าช่วงความเข้มข้นที่ได้ เปรียบเทียบกับค่าแนะน้าในไม้ผลชนิดอื่นของเมืองไทย
ชี ให้เห็นว่า ความเข้มข้นไนโตรเจนที่เหมาะสมมีค่าต่้ากว่าค่าแนะน้าส้าหรับ ลองกอง (22.96-26.21 ก/กก.)
ทุเรียน (20.00-24.00 ก/กก.) และส้ม (24.00-26.00 ก/กก.) แต่มีค่าใกล้เคียงกับค่าแนะน้าในล้าไย