Page 45 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 45

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          35


                   แมงกานีสกับธาตุอาหารชนิดต่าง ๆ ในทุกกลุ่มเกรดยังอยู่ในช่วงที่ไม่เหมาะสม ดังนั น หากปรับความสมดุล
                   ของธาตุอาหารในดินอาจสามารถเพิ่มผลผลิตชาน ้ามันได้ในทุกกลุ่ม


                   4. สถานะธาตุอาหารในใบชาน ้ามันจ้าแนกตามระดับผลผลิต

                          จากผลวิเคราะห์ธาตุอาหารในใบชาน ้ามันจากต้นที่ให้ผลผลิตแตกต่างกัน แบ่งเป็น ต้นเกรด A
                   (ผลผลิตสูง >100 ผลต่อต้น) ต้นเกรด B (ผลผลิตปานกลาง 50-100 ผลต่อต้น) ต้นเกรด C (ผลผลิตต่้า <50

                   ผลต่อต้น) และต้นเกรด D (ไม่ให้ผลผลิต) แสดงให้เห็นว่า ความเข้มข้นธาตุอาหารของต้นที่ให้ผลผลิตสูงอย่าง

                   ต้น เกรด A และ B ส่วนใหญ่มีความเข้มข้นอยู่ในระดับสูงกว่าต้นเกรด C และ D ซึ่งให้ผลผลิตต่้า และไม่ให้
                   ผลผลิต ตามล้าดับ ยกเว้นกรณีของ ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และก้ามะถัน ที่พบความเข้มข้นของต้นเกรด A

                   อยู่ในระดับต่้ากว่าเกรดอื่น ๆ ทั งนี  อาจเนื่องจากต้นเกรด A สูญเสียธาตุอาหารชนิดดังกล่าวไปกับผลผลิต

                   มากกว่ากลุ่มอื่น แต่การชดเชยธาตุอาหารไม่เพียงพอ ความเข้มข้นธาตุอาหารในใบจึงต่้า หรือเนื่องจากความ
                   เข้มข้นของธาตุดังกล่าวยังไม่เป็นปัจจัยจ้ากัดผลผลิตชาน ้ามันมากนัก ถึงแม้จะอยู่ในระดับต่้ากว่าค่าแนะน้าใน

                   พืชโดยทั่วไป แต่ยังคงให้ผลผลิตสูงสุด มีรายงานความเข้มข้นฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมที่เหมาะสมในใบ
                   ของไม้ผลบางชนิดในเมืองไทยอยู่ในช่วง 1.20-6.40 และ 6.20-25.00 ก/กก. ตามล้าดับ (จ้าเป็น และคณะ,

                   2549) ซึ่งสูงกว่าค่าที่พบในพื นที่ ในขณะที่ ความเข้มข้นของแมงกานีสในต้นเกรด A อยู่ในระดับต่้ากว่าต้น

                   เกรด C และ D ชี ให้เห็นว่า แมงกานีสเป็นปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อผลผลิตชาน ้ามันในพื นที่อย่างเด่นชัด
                   สอดคล้องกับผลวิเคราะห์ตัวอย่างดินโดยรวมของพื นที่ พบว่า ส่วนใหญ่มีการสะสมแมงกานีสอยู่ในระดับสูง

                   ปริมาณแมงกานีสที่สูงในดินจึงเป็นปฏิปักษ์ต่อการดูดใช้ธาตุอาหารชนิดอื่น มีรายงานแมงกานีสที่สูงในดินเป็น
                   ปฏิปักษ์ต่อการดูดใช้ แอมโมเนียมในข้าวบาร์เลย์ (Thong et al., 1997) ฟอสฟอรัส แคลเซียม แมกนีเซียม

                   สังกะสี และเหล็กในต้นชา (Vankatesan et al., 2007) จากผลการวิเคราะห์ตัวอย่างใบ ยังแสดงให้เห็นว่า ต้น

                   ที่ให้ผลผลิตต่้า และไม่ให้ผลผลิต มีการสะสมแมงกานีสในใบมากกว่า 2,000 มก./กก. ซึ่งอยู่ในระดับสูงเกิน
                   ความต้องการของพืชโดยทั่วไป ทั งนี  ความเข้มข้นที่เหมาะสมของแมงกานีสในพืชส่วนใหญ่อยู่ในช่วง 20-300

                   มก./กก. (Kalra, 1998) หากพืชมีการสะสมแมงกานีสสูงกว่าช่วงดังกล่าว อาจเป็นพิษต่อเซลล์พืช มีรายงาน

                   ต้นยางพาราเล็กที่ได้รับแมงกานีส 1,000 มก./กก. ส่งผลให้ใบแสดงอาการเป็นพิษจากแมงกานีส
                   (สายใจ, 2558) แตงโมแสดงอาการเป็นพิษเมื่อมีความเข้มข้นแมงกานีสในใบ  1,000-1,500 มก./กก.

                   (Hue and Mai, 2002) ส่วนอ้อยที่มีความเข้มข้นแมงกานีสในใบอยู่ในช่วง 212-1,727 มก./กก. ส่งผลให้ส่วน

                   ของใบมีอาการใบเหลืองอันเนื่องจากปริมาณคลอโรฟิลล์ลดลง (Huang et al., 2016) เนื่องจากความเข้มข้น
                   ที่สูงเกินไปของแมงกานีสในใบชักน้าให้เซลล์เกิดสภาวะเครียดออกซิเดทีฟ (oxidative stress)

                   (Panda et al., 1987) อันเกิดจากกระบวนการที่เซลล์สร้างสัญญาณเตือนให้พืชสร้างระบบป้องกันอันตราย
                   เมื่ออยู่ในสภาวะแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม โดยโมเลกุลของออกซิเจนภายในเซลล์ ซึ่งไวต่อปฏิกิริยาจะรับ

                   อิเล็กตรอนจากไอออนอื่น ทั งนี  เป็นไปได้ว่าในกรณีนี  ออกซิเจนอาจได้รับอิเล็กตรอนจากแมงกานีส ซึ่งมีความ

                   เข้มข้นสูงในใบ เกิดเป็นสารอนุมูลอิสระออกซิเจนรีแอกทีฟ (reactive oxygen species, ROS) ได้แก่ ซูเปอร์
                   ออกไซด์ อนุมูลไฮดรอกซิล ไฮโดรเจนเพอร์ออกไซด์ และอนุมูลอิสระอื่น ๆ ซึ่งกระบวนการดังกล่าวเกิดอย่าง

                   ต่อเนื่องไม่สามารถควบคุมได้ จนท้าให้เกิดความเสียหายต่อคลอโรฟิลล์ (Huang et al., 2016) และจากผล
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50