Page 48 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 48
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
38
(18.80-24.20 ก/กก.) และลิ นจี่ (17.00-21.00 ก/กก.) ซึ่งเป็นไม้ผลที่มีแหล่งปลูกทางภาคเหนือ เช่นเดียวกับ
ชาน ้ามัน แต่ระดับความเข้มข้นที่เหมาะสมของฟอสฟอรัส โพแทสเซียม และก้ามะถัน พบว่า มีค่าต่้ากว่าค่า
มาตรฐานในพืชโดยทั่วไป ซึ่งค่าแนะน้าฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมส้าหรับไม้ผลชนิดอื่น มีค่าอยู่ในช่วง
1.20-2.80 และ 8.00-25.00 ก/กก. ตามล้าดับ (ตารางที่ 8) ส่วนความเข้มข้นแนะน้าของก้ามะถันในพืชทั่วไป
อยู่ในช่วง 2.50-10.00 ก/กก. (Kalra, 1998) ทั งนี อาจเนื่องจากเป็นช่วงความเข้มข้นที่เหมาะสมจ้าเพาะ
ส้าหรับชาน ้ามัน หรืออาจเป็นช่วงความเข้มข้นที่อยู่ในระดับต่้าแต่ยังไม่เป็นปัจจัยหลักที่มีผลจ้ากัดผลผลิต
ส่งผลให้ต้นเกรด A ยังได้รับผลผลิตมากกว่า 100 ผลต่อต้น อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาจากผลวิเคราะห์ดิน
โดยรวม พบว่า ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์และก้ามะถันที่สกัดได้ส่วนใหญ่อยู่ในระดับต่้า เนื่องจากอาจถูกตรึง
อยู่กับแมงกานีสในดิน สอดคล้องกับการตรวจพบความเข้มข้นต่้าในใบ ในขณะที่ ปริมาณโพแทสเซียมที่
แลกเปลี่ยนได้ในดินอยู่ในระดับสูง แต่กลับพบความเข้มข้นในใบต่้ากว่าพืชทั่วไป จึงเป็นไปได้ว่าแมงกานีสใน
ดินยับยั งการดูดใช้โพแทสเซียมของต้นชาน ้ามัน ซึ่งหากเป็นไปตามสมมุติฐาน การเพิ่มปริมาณฟอสฟอรัส
โพแทสเซียม และก้ามะถันในดิน แต่ลดความเข้มข้นแมงกานีส อาจช่วยเพิ่มผลผลิต ชาน ้ามันให้สูงขึ นในทุก
ระดับเกรด เนื่องจากฟอสฟอรัสท้าหน้าที่เป็นองค์ประกอบของรูปพลังงานที่จ้าเป็นต้องใช้ในกระบวนการ
ภายในของพืช ตั งแต่กระบวนการสังเคราะห์แสง กระบวนการหายใจ ตลอดจนกระบวนการล้าเลียง
สารอาหารไปสะสมยังส่วนต่าง ๆ ของต้นชาน ้ามัน โพแทสเซียมท้าหน้าที่ช่วยล้าเลียงแป้งและน ้าตาลที่ได้จาก
กระบวนการสังเคราะห์แสงไปสร้างผลผลิต ส่วนก้ามะถันท้าหน้าที่เป็นองค์ประกอบของโปรตีนและ
คลอโรฟิลล์ ซึ่งมีบทบาทส้าคัญในกระบวนเมแทบอลิซึม และการสังเคราะห์แสงของต้นชาน ้ามัน
(ยงยุทธ, 2559) เพื่อความชัดเจนของข้อมูล จึงควรศึกษาการตอบสนองของฟอสฟอรัส โพแทสเซียมและ
ก้ามะถันเพิ่มเติม ส่วนความเข้มข้นที่เหมาะสมของแคลเซียม และแมกนีเซียม พบว่า มีค่าใกล้เคียงกับค่า
แนะน้าส้าหรับลองกอง (Ca 10.37-12.53, Mg 2.40-2.78 ก/กก.) แต่อยู่ในช่วงต่้ากว่าค่าแนะน้าในทุเรียน
(Ca 17.00-25.00, Mg 2.50-5.00 ก/กก.) และส้ม (Ca 30.00-55.00, Mg 2.60-6.00 ก/กก.) ในขณะที่
ความเข้มข้นที่เหมาะสมของทองแดง พบว่า ใกล้เคียงกับค่าแนะน้าในไม้ผลชนิดอื่น ซึ่งโดยรวมมีความเข้มข้น
แนะน้าอยู่ในช่วง 5-25 มก./กก. เช่นเดียวกับความเข้มข้นที่เหมาะสมของสังกะสี พบว่า มีความเข้มข้น
ใกล้เคียงกับค่าแนะน้าส้าหรับลองกอง (18-20 มก./กก.) และล้าไย (17-20 มก./กก.) นอกจากนี ความเข้มข้น
ที่เหมาะสมของเหล็ก พบว่า มีค่าสูงกว่าค่าแนะน้าในลองกอง (61-66 มก./กก.) ล้าไย (68-78 มก./กก.) และ
ลิ่นจี่ (25-40 มก./กก.) แต่อยู่ในช่วงเดียวกับค่าแนะน้าส้าหรับส้ม (50-150 มก./กก.) และทุเรียน
(40-150 มก./กก.) (ตารางที่ 8) จากการก้าหนดระดับธาตุอาหารที่เหมาะสมส้าหรับชาน ้ามันโดยรวม แสดง
ให้เห็นว่า ต้นชาน ้ามันต้องการธาตุอาหารค่อนข้างจ้าเพาะ ทั งนี ในบางกรณีชาน ้ามันต้องการธาตุอาหารบาง
ชนิดใกล้เคียงกับไม้ผลชนิดหนึ่ง แต่มีความต้องการธาตุอาหารอีกธาตุใกล้เคียงกับไม้ผลชนิดอื่น การจัดท้าค่า
แนะน้าธาตุอาหารส้าหรับชาน ้ามันจึงเป็นสิ่งจ้าเป็น อย่างไรก็ตาม การศึกษาในครั งนี ไม่ได้หาความเข้มข้นที่
เหมาะสมของแมงกานีสส้าหรับชาน ้ามัน เนื่องจากในต้นชาน ้ามันทุกกลุ่ม มีความเข้มข้นของแมงกานีสในใบ
อยู่ในระดับสูงเกินความต้องการของพืชทั่วไป จึงควรท้าการศึกษาการตอบสนองของแมงกานีสเพิ่มเติม
นอกจากนี จากผลการประเมินความเข้มข้นที่เหมาะสมของธาตุอาหารในใบ ยังชี ให้เห็นว่า แนวทางการ
จัดการธาตุอาหารพืชให้เกิดประโยชน์สูงสุดนั น จ้าเป็นต้องพิจารณาทั งสถานะของธาตุอาหารในดิน ควบคู่กับ