Page 42 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 42
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
32
วิจารณ์
1. ผลวิเคราะห์ดิน
จากผลวิเคราะห์ดิน แสดงให้เห็นว่า พื นที่ปลูกชาน ้ามันมีปัญหาความเป็นกรด เนื่องจากดินในพื นที่
ศึกษาจัดเป็นดินที่มีพัฒนาการสูง ตั งอยู่ในสภาพพื นที่ภูเขา ความลาดชันมากกว่า 20 เปอร์เซ็นต์ ลักษณะดิน
เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ของหินแกรนิต ซึ่งเป็นหินอัคนีสีจาง มีความอุดมสมบูรณ์ต่้า (กองส้ารวจดิน
และวิจัยทรัพยากรดิน, 2558) ประกอบกับตั งอยู่ในสภาพอากาศแบบเขตร้อนชื น มีผลให้ดินเกิดการผุพัง
สลายตัวอย่างรุนแรง ปริมาณธาตุอาหารประจุบวกจึงถูกชะละลายออกไปจากหน้าตัดดิน ด้วยอ้านาจการไล่ที่
ของธาตุซึ่งมีอ้านาจสูงกว่า อย่างเช่น ไฮโดรเจนไอออน และธาตุที่มีศักยภาพชักน้าให้ดินเป็นกรดเมื่อท้า
ปฏิกิริยากับน ้า ได้แก่ เหล็ก อะลูมินัม และแมงกานีส ท้าให้มีการสะสมธาตุเหล่านี อยู่ในระดับสูง และเป็น
สาเหตุให้เกิดปัญหาความเป็นกรดของดินตามมา จากปัญหาความเป็นกรดของพื นที่ จึงมีผลชักน้าลดความ
เป็นประโยชน์ของธาตุอาหารชนิดอื่น เช่น ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ เนื่องจากอาจถูกตรึงอยู่กับออกไซด์ของ
เหล็ก อะลูมินัม และแมงกานีส มีผลให้ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ในระดับต่้า โดยเฉพาะแมงกานีส พบว่า
ในพื นที่มีการสะสมแมงกานีสที่สกัดได้อยู่ในระดับสูงกว่าดินทั่วไปอย่างเด่นชัด ทั งนี อาจเนื่องจากวัตถุต้น
ก้าเนิดดินมีแมงกานีสเป็นองค์ประกอบอยู่สูง และระดับพีเอชที่ต่้า ยิ่งเป็นปัจจัยเร่งให้แมงกานีสละลายออกมา
มากขึ น เช่นเดียวกับดินอันดับ ออกซิซอลล์ (Oxisols) บริเวณเกาะคาไว และโออาฮู ของฮาวาย มีรายงาน
ปริมาณแมงกานีสละลายออกมามากเกินไป เนื่องจากกระบวนผุพังสลายตัวของหินและแร่จากสภาพอากาศที่
รุนแรง (Hue and Mai, 2002) ในขณะที่ ธาตุอาหารชนิดอื่นในพื นที่ปลูกชาน ้ามัน ได้แก่ แคลเซียม และ
แมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ รวมถึง ก้ามะถัน ทองแดง และสังกะสีที่สกัดได้ ส่วนใหญ่อยู่ในระดับต่้ากว่าค่า
แนะน้าโดยทั่วไป ทั งนี อาจมีสาเหตุจากความไม่สมดุลของธาตุอาหารในดิน ส่งผลให้เกิดอันตรกิริยาเชิงลบ
ระหว่างแมงกานีสที่สกัดได้กับธาตุอาหารชนิดอื่น ๆ มีรายงาน ระดับแมงกานีสที่สูงในดินเป็นปฏิปักษ์ต่อ
ระดับ ฟอสฟอรัส (Nogueira et al., 2004) โพแทสเซียม (Vankatesan et al., 2007) แคลเซียม (Hue et
al., 2001) แมกนีเซียม (Elamin and Wilcox, 1986) ทองแดง (Kovacik et al., 2014) และสังกะสี
(Soltangheisi et al., 2014) ซึ่งเป็นสาเหตุให้พืชที่ปลูกบริเวณที่มีแมงกานีสสูง ได้รับธาตุอาหารชนิดอื่นไม่
เพียงพอ ส่งผลให้เป็นปัจจัยจ้ากัดการเจริญเติบโตและการให้ผลผลิต อย่างไรก็ตาม ในพื นที่ปลูกชาน ้ามัน
ปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้อยู่ในระดับสูง แสดงให้ห็นว่า อันตรกิริยาเชิงลบของแมงกานีสที่มีต่อ
โพแทสเซียม น่าจะมีอิทธิพลน้อยกว่าในกรณีของธาตุชนิดอื่น นอกจากนี พื นที่ศึกษายังมีปริมาณอินทรียวัตถุ
อยู่ในระดับสูง ซึ่งอาจเนื่องจากเป็นพื นที่ใหม่ที่เริ่มใช้ท้าการเกษตร จึงยังคงมีปริมาณอินทรียวัตถุสะสมอยู่ใน
ดิน และน่าจะเป็นอีกหนึ่งสาเหตุที่เป็นปัจจัยเร่งการละลายของแมงกานีสในดิน เนื่องจากการสลายตัวของ
อินทรียวัตถุจะให้อิเล็กตรอนเพื่อการรีดิวซ์แมงกานิกเป็นแมงกานัส (ยงยุทธ, 2552) ดังนั น จากผลวิเคราะห์ดิน
ในพื นที่ปลูก ชาน ้ามันโดยรวม ชี ให้เห็นว่า เกษตรกรควรให้ความสนใจกับปริมาณแมงกานีสที่สูงในดิน ซึ่ง
คาดว่าน่าจะมี อันตรกิริยาเชิงลบต่อธาตุชนิดอื่น ๆ ได้แก่ ฟอสฟอรัส แคลเซียม แมกนีเซียม ก้ามะถัน
ทองแดง และสังกะสี และเพื่อความชัดเจนของข้อมูล ส้าหรับแนะน้าเกษตรกร จึงควรศึกษาสัดส่วน