Page 43 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          33


                   ความสัมพันธ์ของแมงกานีสกับธาตุอาหารชนิดดังกล่าวในข้างต้น อีกทั ง ควรเฝ้าระวังความเป็นพิษจาก
                   แมงกานีส ซึ่งอาจเป็นพิษต่อเนื อเยื่อพืช หากพืชดูดแมงกานีสไปสะสมในปริมาณที่มากเกินความจ้าเป็น


                   2. สัดส่วนความสัมพันธ์ของแมงกานีสกับธาตุอาหารบางชนิดในดินบริเวณพื นที่ศึกษา

                          จากผลการหาสัดส่วนความสัมพันธ์ของแมงกานีสกับธาตุอาหารบางชนิดในดินบริเวณพื นที่ศึกษา
                   แสดงให้เห็นว่า แมงกานีสที่สกัดได้ในดินมีอันตรกิริยาเชิงลบต่อธาตุอาหารชนิดต่าง ๆ ในดินอย่างเด่นชัด ทั ง

                   ธาตุอาหารที่มีประจุบวก ได้แก่ โพแทสเซียม แคลเซียม และแมกนีเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ ทองแดง และสังกะสี

                   ที่สกัดได้ รวมถึงธาตุอาหารที่มีประจุลบ ได้แก่ ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ และก้ามะถันที่สกัดได้ สอดคล้อง
                   กับรายงานผลวิเคราะห์ดิน พบว่า ความเข้มข้นของธาตุดังกล่าวส่วนใหญ่อยู่ในระดับต่้า ส่วนความเข้มข้นของ

                   แมงกานีสที่สกัดได้อยู่ในระดับสูงกว่าค่าแนะน้า ทั งนี  เนื่องจากปริมาณแมงกานีสที่สูงในดินจะไปแทนที่ธาตุ

                   อาหารประจุบวกชนิดอื่นที่อยู่ในสารละลายดินหรือที่ถูกดูดซับอยู่กับคอลลอยด์ดิน ส่งผลให้ธาตุประจุบวกอื่น
                   ๆ ถูกชะละลายออกไป ในขณะที่ธาตุประจุลบอาจถูกตรึงอยู่กับแมงกานีส อยู่ในรูปของสารประกอบเชิงซ้อนที่

                   ละลายน ้าได้ยาก  มีรายงานความเข้มข้นแมงกานีสในดินที่สูงเกิน 1,000 มก./กก. ส่งผลให้ความเข้มข้นของ
                   แคลเซียม และแมกนีเซียมลดลง (Vankatesan et al., 2007) เช่นเดียวกับการทดสอบเพิ่มปริมาณแมงกานีส

                   ในสารละลายธาตุอาหาร พบว่า ส่งผลให้พืชดูดใช้แคลเซียม แมกนีเซียม และเหล็กได้น้อยลง (Nazrul-Islam,

                   1986) นอกจากนี  พบปัญหาอันตรกิริยาของแมงกานีสที่ส่งผลเชิงลบต่อธาตุชนิดต่าง ๆ ได้แก่ ไนโตรเจนใน
                   พื นที่ปลูกข้าวบาร์เลย์ (Thong et al., 1997) ฟอสฟอรัสในพื นที่ปลูกมันฝรั่ง (Barben et al., 2010) และนาข้าว

                   (Magahud et al., 2015) โพแทสเซียมในพื นที่ปลูกถั่วเหลือง (Heenan and Campbell, 1981) สังกะสีใน
                   พื นที่ปลูกข้าวโพด (Soltangheisi et al., 2014) รวมถึงมีรายงานการใส่ก้ามะถันในดิน ส่งผลให้ความเข้มข้น

                   ของแมงกานีสลดลง เนื่องจากทั งสองชนิดธาตุเป็นปฏิปักษ์ต่อกัน (Turan et al., 2013) จากผลการทดลอง

                   และรายงานการศึกษาทั งหมด แสดงให้เห็นว่า ระดับแมงกานีสที่สูงในดิน มีอิทธิพลต่อความเป็นประโยชน์
                   ของธาตุอาหารชนิดอื่น ทั งธาตุอาหารที่มีประจุบวกและประจุลบ ดังนั น จึงควรหาสัดส่วนที่เหมาะสมระหว่าง

                   แมงกานีสกับธาตุอาหารชนิดดังกล่าว ส้าหรับใช้เป็นแนวทางปรับความสมดุลของธาตุอาหารในดิน ซึ่งจาก

                   การศึกษาในครั งนี เมื่อพิจารณาจากระดับที่เพียงพอเบื องต้นของธาตุอาหารในดิน พบว่า สัดส่วนที่เหมาะสม
                   ของแมงกานีสที่สกัดได้ต่อธาตุอาหารชนิดอื่น อยู่ในช่วงต่าง ๆ ได้แก่ แมงกานีส/ฟอสฟอรัส 2.5-4.1,

                   แมงกานีส/โพแทสเซียม 0.4-0.5, แมงกานีส/แคลเซียม 0.0002-0.07, แมงกานีส/แมกนีเซียม 0.04-0.2,

                   แมงกานีส/ก้ามะถัน 0.7-1.8, แมงกานีส/ทองแดง 6.2-19.9 และ แมงกานีส/สังกะสี 0.2-14.3 ตามล้าดับ
                   ชี ให้เห็นว่า หากต้องการป้องกัน อันตรกิริยาเชิงลบที่เกิดจากแมงกานีส จ้าเป็นต้องรักษาสัดส่วนของธาตุ

                   อาหารให้อยู่ในช่วงดังกล่าว เช่น กรณีของทองแดง ผลทดสอบตัวอย่างดินโดยรวมมีปริมาณทองแดงที่สกัดได้
                   อยู่ในเกณฑ์ต่้า 0.8 มก./กก. และมีปริมาณแมงกานีสที่สกัดได้อยู่ในระดับสูง 25 มก./กก. คิดเป็นสัดส่วน

                   แมงกานีสต่อแคลเซียม เท่ากับ 31 ในขณะที่สัดส่วนที่เหมาะสมอยู่ในช่วง 6.2-19.9 ดังนั น เพื่อเพิ่มปริมาณ

                   ทองแดงให้อยู่ในช่วงที่เพียงพอ และแก้ปัญหาอันตรกิริยาที่เกิดจากแมงกานีส จ้าเป็นต้องเพิ่มปริมาณทองแดง
                   ในดินให้มีความเข้มข้นอย่างน้อย 1.26 มก./กก. หรืออาจใช้วิธีลดความเข้มข้นของแมงกานีสในดิน ทั งนี

                   สามารถท้าได้โดยการใส่วัสดุปูน จ้าพวกปูนขาว ปูนมาร์ล รวมถึง โดโลไมท์ ซึ่งนอกจากช่วยลดปริมาณ
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48