Page 46 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 46

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          36


                   วิเคราะห์ตัวอย่างใบของต้นที่ให้ผลผลิตสูง พบว่า มีความเข้มข้นแมกนีเซียมในใบสูงกว่าต้นที่ไม่ให้ผลผลิตต่้า
                   แต่มีความเข้มข้นแมงกานีสอยู่ในระดับต่้ากว่าอย่างเด่นชัด ชี ให้เห็นว่า ต้นที่ไม่ให้ผลผลิตอาจโดนยับยั งการดูด

                   ใช้แมกนีเซียม อันเนื่องจากความเข้มข้นแมงกานีสที่สูงในดิน จึงส่งผลกระทบต่อการสังเคราะห์คลอโรฟิลล์

                   เนื่องจากแมกนีเซียมเป็นองค์ประกอบของคลอโรฟิลล์ เมื่อปริมาณคลอโรฟิลล์มีน้อยจึงมีผลต่อกระบวนการ
                   สังเคราะห์แสง ท้าให้การสร้างและสะสมอาหารของพืชลดลง จึงเป็นปัจจัยจ้ากัดการเจริญเติบโตและการ

                   ให้ผลผลิต นอกจากนี  มีรายงานอาการเป็นพิษจากแมงกานีสบริเวณใบจะมีรอยด่างสีน ้าตาลที่ใบแก่ รอยด่างที่
                   เกิดขึ นมาจากพิษของแมงกานีสออกไซด์ (MnO ) ส่วนสีน ้าตาลเกิดจากพอลิฟีนอลรูปออกซิไดส์ ก่อนรอยด่าง
                                                          2
                   ปรากฎจะมีการสร้างคาลอส (callose) ในบริเวณนั นก่อน ซึ่งแสดงว่าพิษของแมงกานีสมีผลกระทบอย่าง

                   รุนแรงต่อเยื่อหุ้มเซลล์ (ยงยุทธ, 2552) ลักษณะอาการดังกล่าวสอดคล้องกับลักษณะใบชาน ้ามันที่แสดงอาการ
                   ผิดปกติในพื นที่ และจากผลวิเคราะห์สถานะธาตุอาหารในใบ แสดงให้เห็นอย่างชัดเจนว่า ใบชาน ้ามันที่มีจุด

                   ด่างสีน ้าตาลบริเวณแผ่นใบมีการสะสมแมงกานีสในใบ สูงกว่าใบปกติ ในขณะที่ มีการสะสมไนโตรเจนอยู่ใน

                   ระดับต่้า เนื่องจากแมงกานีสยับยั งการดูดใช้ไนโตรเจน เช่นเดียวกับกรณีของธาตุอื่น ๆ ส่วนปริมาณทองแดงที่
                   สูงในใบที่มีจุดด่างสีน ้าตาล น่าจะเป็นกลไกการตอบสนองของพืชในกระบวนการสร้างสารต้านออกซิเดชัน

                   เพื่อลดความเป็นพิษของแมงกานีส ซึ่งกระบวนการดังกล่าวมีทองแดงเป็นองค์ประกอบ (ยงยุทธ, 2559)
                   นอกจากนี  ลักษณะจุดด่างสีน ้าตาลที่พบบริเวณแผ่นใบ มีลักษณะคล้ายอาการของโรคจุดสาหร่าย (algal

                   spot) อันมีสาเหตุจากการเข้าท้าลายของสาหร่ายสีเขียว (green algae) มีรายงานพบแพร่กระจายทั่วไปใน

                   พืชหลายชนิด เช่น ฝรั่ง ชา กาแฟ มะม่วง โกโก้ มะพร้าว และปาล์มน ้ามัน (อนุรักษ์ และคณะ, 2558) ทั งนี
                   เป็นไปได้ว่าการเกิดโรคดังกล่าวอาจมีปัจจัยร่วมจากความไม่สมดุลของธาตุอาหาร ระดับแมงกานีสที่สูงในใบ

                   อาจส่งผลให้เซลล์พืชได้รับความเสียหาย จึงเป็นโอกาสให้เชื อสาเหตุโรคพืชเข้าท้าลายได้ง่ายกว่าใบปกติ เพื่อ
                   ความชัดเจนของข้อมูลจึงควรศึกษาประเด็นดังกล่าวเพิ่มเติม จากประเด็นทั งหมด สามารถชี ให้เห็นว่า

                   แมงกานีสอาจเป็นธาตุที่ก้าลังเป็นปัจจัยจ้ากัดการให้ผลผลิตชาน ้ามันในพื นที่ ทั งปัญหาความเป็นพิษโดยตรง

                   ต่อต้นชาน ้ามัน และอันตรกิริยาเชิงลบที่ส่งผลต่อความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหารอื่น ๆ ดังนั น ควรลด
                   ระดับแมงกานีส หรือเพิ่มพีเอชของดิน โดยการใช้วัสดุปูน ควบคู่กับการลดอันตรกิริยาของแมงกานีส โดยการ

                   เพิ่มปริมาณธาตุอาหารชนิดต่าง ๆ ในดินจากการใส่ปุ๋ย เพื่อปรับความสมดุลของธาตุอาหาร แม้ว่าความ

                   เข้มข้นธาตุอาหารในดินจะอยู่ในระดับที่สูง แต่หากสัดส่วนของธาตุอาหารแต่ละชนิดขาดความสมดุล ย่อม
                   ส่งผลกระทบต่อการดูดใช้ของพืช จากอ้านาจการแก่งแย่งระหว่างกัน ซึ่งสามารถประเมินความเพียงพอของ

                   การดูดใช้ธาตุอาหารได้จากการวิเคราะห์ตัวอย่างใบ ทั งนี  หากต้องการผลผลิตในระดับ 100 ผลต่อต้น

                   สามารถใช้สถานะของต้นเกรด A เป็นเกณฑ์ส้าหรับประเมินความเพียงพอของการดูดใช้ธาตุอาหารได้ใน
                   เบื องต้น
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51