Page 29 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 29
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
19
แบเรียมคลอไรด์ (BaCl ) และวัดความขุ่นด้วยเครื่องสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ ส่วนการวิเคราะห์หาจุลธาตุในดิน
2
ใช้วิธีสกัดดินด้วยน ้ายาสกัด DTPA จากนั นวัดความเข้มข้นของปริมาณแมงกานีส สังกะสี และทองแดงที่สกัด
ได้ (Extr. Mn, Zn and Cu) ด้วยเครื่องอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ ตามคู่มือการวิเคราะห์
ดิน (Jones, 2001)
2) การวิเคราะห์พืช
น้าตัวอย่างพืชมาวิเคราะห์หาปริมาณไนโตรเจนทั งหมด (N) โดยใช้วิธีเจลดาห์ล (Kjeldahl)
และน้าตัวอย่างพืชอีกส่วนมาย่อยสลายด้วยกรดไนตริก : เปอร์คลอริก (2 : 1) ส้าหรับใช้วิเคราะห์ธาตุอื่น ๆ
ได้แก่ ปริมาณฟอสฟอรัสทั งหมด (P) โดยน้าสารละลายที่ได้หลังการย่อยมาท้าให้เกิดสีด้วยวิธีวานาโดโมลิบ
เดต (vanadomolybdate) และวัดค่าความเข้มข้นด้วยเครื่องสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ ส้าหรับการหาปริมาณ
โพแทสเซียมทั งหมด (K) น้าสารละลายหลังการย่อยมาวัดความเข้มข้นด้วยเครื่องเฟลมโฟโตมิเตอร์ ในขณะที่
ปริมาณ แคลเซียม แมกนีเซียม เหล็ก แมงกานีส สังกะสี และทองแดง ทั งหมด (Ca, Mg, Fe, Mn, Zn and
Cu) วัดความเข้มข้นด้วยเครื่องอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรโฟโตมิเตอร์ ปริมาณก้ามะถันทั งหมด (S) ใช้
วิธีท้าให้สารละลายเกิดตะกอนจากการเติมแบเรียมคลอไรด์ และวัดความขุ่นด้วยเครื่องสเปกโทรโฟโตมิเตอร์
ตามคู่มือการวิเคราะห์พืช (Jones, 2001) ส่วนปริมาณคาร์บอนทั งหมด (C) ใช้เทคนิคการวิเคราะห์ธาตุ
องค์ประกอบหลักโดยวิธีเผาแห้ง (dry combustion) ดัดแปลงจาก (ISO 10694, 1995)
2.3 การวิเคราะห์ข้อมูล
น้าผลวิเคราะห์ดินมาหาความสัมพันธ์ระหว่างแมงกานีสที่สกัดได้กับธาตุอาหารชนิดอื่น ๆ
เพื่อหาอัตราส่วนที่เหมาะสมของธาตุอาหาร โดยใช้วิธีวิเคราะห์การถดถอยจากสมการลอการิทึม (logarithm)
หรือสมการเอ็กซ์โพเนนเชียล (exponential) ขึ นอยู่กับลักษณะความสัมพันธ์ของข้อมูล วิเคราะห์ความ
แปรปรวนของธาตุอาหารในใบชาน ้ามัน ตามวิธีแบบสุ่มสมบูรณ์ และเปรียบเทียบความแตกต่างของค่าเฉลี่ย
ด้วยวิธี Tukey's Honest Significant Difference (HSD) และน้าข้อมูลของต้นเกรด A มาประมาณค่าแบบ
ช่วงที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์ เพื่อก้าหนดระดับธาตุอาหารที่เหมาะสมในใบชาน ้ามัน จากการใช้
เทคนิคประเมินจากต้นที่ให้ผลผลิตสูง (จ้าเป็น และคณะ 2549; จ้าเป็น และคณะ 2550)