Page 28 - การจัดทำค่ามาตรฐานธาตุอาหารพืชในชาน้ำมันเพื่อใช้เป็นค่าวินิจฉัยสำหรับให้คำแนะนำปุ๋ย Preparation of Standard Plant Nutrients in Camellia oleifera Able. for Use as Diagnostic for Fertilizer Recommendations.
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          18


                          1.3 วัสดุอื่น ๆ
                              1) ถุงพลาสติกส้าหรับเก็บตัวอย่างดิน

                              2) ถุงกระดาษส้าหรับเก็บตัวอย่างพืช

                              3) กรรไกร
                              4) อุปกรณ์เก็บตัวอย่างดิน (จอบ พลั่วสนาม ออร์เกอร์)


                   2. วิธีด้าเนินการวิจัย

                          2.1 การเก็บ และเตรียมตัวอย่างดินและพืช
                                 สุ่มเก็บตัวอย่างดิน ที่ระดับความลึก 0-30 เซนติเมตร จ้านวน 245 ตัวอย่าง ในบริเวณพื นที่

                   ปลูกชาน ้ามัน ของหมู่บ้านปางมะหัน ต้าบลเทอดไทย อ้าเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย และเก็บตัวอย่างใบ

                   ชาน ้ามันจากต้นที่ให้ผลผลิตแตกต่างกัน จ้านวน 103 ต้น (1 ต้น ต่อ 1 ตัวอย่าง) แบ่งเป็น ต้นเกรด A
                   (ผลผลิตสูง >100 ผลต่อต้น) ต้นเกรด B (ผลผลิตปานกลาง 50-100 ผลต่อต้น) ต้นเกรด C (ผลผลิตต่้า <50

                   ผลต่อต้น) และต้นเกรด D (ไม่ให้ผลผลิต) จ้านวน 39, 18, 22 และ 24 ต้น ตามล้าดับ โดยแต่ละต้นเลือกเก็บ
                   ใบที่ขยายตัวเต็มที่แต่ยังไม่แก่ (ใบเพสลาด) บริเวณต้าแหน่งใบที่อยู่ตรงกลางของช่อใบ ใน 4 ทิศทางรอบทรง

                   พุ่ม เก็บตัวอย่างใบประมาณ 100 ใบ ต่อหนึ่งตัวอย่าง ดัดแปลงจาก (สุมิตรา และคณะ, 2545ก) นอกจากนี

                   แยกเก็บใบชาน ้ามันที่มีลักษณะผิดปกติ ซึ่งมีจุดด่างสีน ้าตาล และใบที่สมบูรณ์ มาอย่างละ 10 ต้น เพื่อใช้
                   วิเคราะห์หาสาเหตุความผิดปกติของใบชาน ้ามัน น้าตัวอย่างดินที่ได้จากการสุ่มในพื นที่ มาอบที่อุณหภูมิ

                   40 องศาเซลเซียส เป็นระยะเวลา 1 สัปดาห์ และบดร่อนผ่านตะแกรงขนาดช่องเปิด 2 มิลลิเมตร
                   (ISO 11464, 2006) ส่วนตัวอย่างใบชาน ้ามันใช้ผ้าสะอาดชุบน ้ากลั่นพอหมาดๆ เช็ดบริเวณแผ่นใบเพื่อขจัดสิ่ง

                   ปนเปื้อน หลังจากนั นน้ามาอบที่อุณหภูมิ 70 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 48 ชั่วโมง และน้ามาบดร่อนผ่าน

                   ตะแกรงขนาด 60 เมช ส้าหรับใช้วิเคราะห์ธาตุอาหารพืชต่อไป (ส้านักวิทยาศาสตร์เพื่อการพัฒนาที่ดิน, 2547ก)


                          2.2 การวิเคราะห์ดินและพืช

                          1) การวิเคราะห์ดิน

                                 น้าตัวอย่างดินมาวัดค่าพีเอช (ดิน:น ้า, 1:1) โดยใช้เครื่องพีเอชมิเตอร์ (pH meter)       (ISO
                   10390, 2005) และวิเคราะห์หาปริมาณอินทรียวัตถุ จากการใช้วิธีวอล์คเลย์-แบลค (Walkley & Black) หา

                   ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (Avai. P) โดยใช้วิธีสกัดดินด้วยน ้ายาสกัดเบรย์ทู (Bray II) ท้าให้เกิดสีด้วย

                   วิธีโมลิบดินัมบลู (molybdenum blue) จากนั นวัดค่าความเข้มข้นด้วยเครื่องสเปกโทรโฟโตมิเตอร์
                   (spectrophotometer) น้าตัวอย่างดินอีกส่วนมาสกัดด้วย 1 โมลาร์ ของสารละลายแอมโมเนียมอะซิเตต

                   พีเอช 7.0 (ammonium acetate pH 7.0) จากนั นน้ามาหาปริมาณโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ (Exch. K)
                   โดยใช้เครื่องเฟลมโฟโตมิเตอร์ (flame photometer) และหาปริมาณแคลเซียม และแมกนีเซียมที่

                   แลกเปลี่ยนได้ (Exch. Ca and Mg) โดยใช้เครื่องอะตอมมิกแอบซอร์พชันสเปกโทรโฟโตมิเตอร์

                   (atomic absorption spectrophotometer) ในขณะที่ ปริมาณก้ามะถันที่สกัดได้ (Extr. S) ใช้วิธีสกัดดิน
                   ด้วย 0.5 โมลาร์ ของสารละลายแอมโมเนียมอะซิเตต พีเอช 7.0 ท้าให้สารละลายเกิดตะกอนจากการเติม
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33