Page 82 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 82

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       76


                                        210
                          ในขณะที่ปริมาณ  Pb เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ศึกษา จะไมมีความแตกตางกันทางสถิติ แตพื้นที่ปา
                   ยางพารา  พบคาเฉลี่ยความแรงรังสี  Pb สูงที่สุด เทากับ 25.395 Bq/kg รองลงมา คือ พื้นที่ปลูกพืชทั่วไป
                                                 210
                   พบคาเฉลี่ยความแรงรังสี  Pb สูงที่สุด เทากับ 23.804 Bq/kg และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  พบคาเฉลี่ยความ
                                       210
                          210
                   แรงรังสี  Pb สูงที่สุด เทากับ 21.352 Bq/kg ตามลําดับ

                   ตารางที่ 24 คาเฉลี่ยปริมาณความแรงรังสี ตอดิน 1 กิโลกรัม ในพื้นที่ทดลอง เก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน)
                                                                                 210
                                                           ปริมาณตะกั่ว 210 ในดิน ( Pb)
                   ระดับความลึกของดิน                                (Bq/kg)
                       (เซนติเมตร)      Toeslope  Footslope  Backslope  Shoulder  Summit  คาเฉลี่ย

                                           (TS)       (FS)        (BS)        (SH)       (SU)     (Mean)
                   (1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
                   0 - 10                37.211      30.023      31.593      23.614     22.395  28.967a

                   10 – 20               33.952      30.654      19.857      20.300     23.003  25.553a
                   20 – 30               19.678      15.724      13.299      20.262     15.489  16.891b
                   คาเฉลี่ย (Mean)      30.280a     25.467b     21.583b    21.392b  20.296b  23.804

                   (2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)
                   0 - 10                39.015      16.988      18.288      33.797     34.507  28.519a
                   10 – 20               25.223      32.434      33.043      19.881     22.218  26.560a

                   20 – 30               20.096      21.214      23.670      23.108     17.414  21.100b
                   คาเฉลี่ย (Mean)      28.111a     23.545a     25.000a     25.595a  24.713a  25.393
                   (3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน
                   0 - 10                  30.485      28.602      28.112      24.545    26.482  27.645a

                   10 – 20                 48.476      15.495      18.353      22.633    10.750  23.142b
                   20 – 30                 20.186      11.854      11.202      14.633     8.477  13.271c
                   คาเฉลี่ย (Mean)       33.049a     18.650b     19.223b  20.604b  15.236b        21.352


                                                                                                  210
                          จากการเก็บตัวอยางดินครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน) ดังตารางที่ 25 พบวา คาเฉลี่ยความแรงรังสี  Pb ตอ
                   ดิน 1 กิโลกรัม (Bq/kg) มีความแตกตางกันของ ปจจัยดานความลึกของดิน อยางมีนัยยะสําคัญทางสถิติ ที่ระดับ

                   ความเชื่อมั่น 0.05
                                            210
                          คาเฉลี่ยความแรงรังสี  Pb เมื่อเปรียบเทียบกับระดับความลึกของดิน รายงานไดวา พื้นที่ปลูกพืช
                                                     210
                   ทั่วไป  และพื้นที่ปายางพารา  พบปริมาณ  Pb ปริมาณสูงที่สุดที่ระดับผิวหนาดิน และมีปริมาณที่ลดลงตาม
                                                                            210
                   ความลึกของดินที่มากขึ้น ในขณะที่พื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  พบปริมาณ  Pb สูงที่สุด ที่ระดับความลึก 0-10
                   เซนติเมตร รองลงมา คือ ที่ระดับความลึก 20-30 และ 10-20 เซนติเมตร ตามลําดับ กลาวคือ พื้นที่ปลูกพืช
                   ทั่วไปที่ไมมีการจัดการดินใด ๆ  มีคาเฉลี่ยปริมาณ  Pb เทากับ 22.695 20.916 และ 15.681 Bq/kg ที่ระดับ
                                                           210
                   ความลึก 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ พื้นที่ปายางพาราที่ไมมีการรบกวนหนาดิน  มีคาเฉลี่ย
                          210
                   ปริมาณ  Pb เทากับ 30.753 21.442 และ 13.986 Bq/kg ที่ระดับความลึก 0-10 10-20 และ 20-30
                                                                                               210
                   เซนติเมตร ตามลําดับ และพื้นที่เพาะปลูกพืชที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา  มีคาเฉลี่ยปริมาณ  Pb เทากับ
                   27.376 19.982 และ 24.865 Bq/kg ที่ระดับความลึก 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87