Page 85 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 85

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       79


                                                                                                  210
                          จากการเก็บตัวอยางดินครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) ดังตารางที่ 26 พบวา คาเฉลี่ยความแรงรังสี  Pb ตอ
                   ดิน 1 กิโลกรัม (Bq/kg) มีความแตกตางกันของ ปจจัยพื้นที่ศึกษา อยางมีนัยยะสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความ
                   เชื่อมั่น 0.05 และปจจัยดานความลึกของดิน มีความแตกตางกันอยางมีนัยยะสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น
                   0.1

                                 210
                          ปริมาณ  Pb เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ศึกษา สามารถรายงานไดวา พื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  พบ
                                    210
                   คาเฉลี่ยความแรงรังสี  Pb สูงที่สุด เทากับ 29.910 Bq/kg รองลงมา คือ พื้นที่ปายางพารา  พบคาเฉลี่ยความ
                                                                                         210
                          210
                   แรงรังสี  Pb  เทากับ 24.784 Bq/kg และ พื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  พบคาเฉลี่ยความแรงรังสี  Pb สูงที่สุด เทากับ
                   21.163 Bq/kg ตามลําดับ
                                            210
                          คาเฉลี่ยความแรงรังสี  Pb เมื่อเปรียบเทียบกับระดับความลึกของดิน รายงานไดวา พื้นที่ปลูกพืช
                                                     210
                   ทั่วไป  และพื้นที่ปายางพารา  พบปริมาณ  Pb ปริมาณสูงที่สุดที่ระดับผิวหนาดิน และมีปริมาณที่ลดลงตาม
                                                                            210
                   ความลึกของดินที่มากขึ้น ในขณะที่พื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  พบปริมาณ  Pb สูงที่สุด ที่ระดับความลึก 0-10
                   เซนติเมตร รองลงมา คือ ที่ระดับความลึก 20-30 และ 10-20 เซนติเมตร ตามลําดับ กลาวคือ พื้นที่ปลูกพืช
                                                           210
                   ทั่วไปที่ไมมีการจัดการดินใด ๆ  มีคาเฉลี่ยปริมาณ  Pb เทากับ 23.757 21.066 และ 18.666 Bq/kg ที่ระดับ
                   ความลึก 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ พื้นที่ปายางพาราที่ไมมีการรบกวนหนาดิน  มีคาเฉลี่ย
                          210
                   ปริมาณ  Pb เทากับ 31.329 23.373 และ 19.651 Bq/kg ที่ระดับความลึก 0-10 10-20 และ 20-30
                                                                                               210
                   เซนติเมตร ตามลําดับ และพื้นที่เพาะปลูกพืชที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา  มีคาเฉลี่ยปริมาณ  Pb เทากับ
                   32.148 26.732 และ 30.850 Bq/kg ที่ระดับความลึก 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ
                                                210
                          แมวาคาเฉลี่ยความแรงรังสี  Pb เมื่อเปรียบเทียบกับประเภทของความลาดชัน จะไมมีความแตกตาง
                                                                             210
                   กันทางสถิติ แตสามารถรายงานไดวา พื้นที่เพาะปลูกพืชทั่วไป  พบปริมาณ  Pb สูงที่สุด ณ บริเวณ Toeslope
                                             210
                   พื้นที่ปายางพารา  พบปริมาณ  Pb สูงที่สุด ณ บริเวณ Summit ในขณะที่ พื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  พบ
                          210
                                                                          210
                   ปริมาณ  Pb สูงที่สุด ณ บริเวณ Backslope โดยเรียงลําดับปริมาณ Pb จากสูงที่สุดไปต่ําที่สุด ตามความ
                                                                                    210
                   ลาดชันแตละบริเวณได ประกอบดวย พื้นที่เพาะปลูกทั่วไป  เรียงลําดับปริมาณ Pb ได คือ Toeslope >
                   Summit > Shoulder > Footslope > Backslope พื้นที่ปายางพารา  เรียงลําดับปริมาณ  Pb ไดคือ
                                                                                               210
                   Shoulder > Summit > Toeslope > Footslope > Backslope และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  เรียงลําดับ
                   ปริมาณ Pb ไดคือ Backslope > Shoulder > Summit > Footslope > Toeslope ดังตารางที่ 26
                         210
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90