Page 86 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 86

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       80



                   ตารางที่ 26 คาเฉลี่ยปริมาณความแรงรังสี ตอดิน 1 กิโลกรัม ในพื้นที่ทดลอง เก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม)
                                                                                 210
                                                           ปริมาณตะกั่ว 210 ในดิน ( Pb)
                   ระดับความลึกของดิน                                (Bq/kg)

                       (เซนติเมตร)      Toeslope  Footslope  Backslope  Shoulder  Summit  คาเฉลี่ย
                                           (TS)       (FS)        (BS)        (SH)       (SU)     (Mean)
                   (1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา

                   0 - 10                27.370      20.725      24.650      23.377     22.662  23.757a
                   10 – 20               25.551      26.679      19.706      16.199     17.193  21.066a
                   20 – 30               23.059      11.959      13.816      21.511     22.983  18.666b
                   คาเฉลี่ย (Mean)      25.327      19.788      19.391      20.362     20.946  21.163c

                   (2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)
                   0 - 10                30.794      20.726      19.735      44.218     41.171  31.329a
                   10 – 20               18.100      20.977      15.952      36.518     25.319  23.373b

                   20 – 30               16.854      11.857      10.855      28.059     30.630  19.651c
                   คาเฉลี่ย (Mean)      21.916      17.853      15.514      36.265     32.373  24.784b
                   (3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน
                   0 - 10                31.810      31.396      30.800      34.474     32.258  32.148a

                   10 – 20               16.356      29.168      28.824      27.084     32.230  26.732a
                   20 – 30               18.390      21.957      57.469      35.719     20.714  30.850a
                   คาเฉลี่ย (Mean)      22.185      27.507      39.031      32.426     28.401  29.910a


                                                                               210
                          จากผลการศึกษาถึงผลของปริมาณความแรงรังสีของธาตุตะกั่ว 210 ( Pb) ในพื้นที่แนวตั้งหรือแนวลึก
                   ตามชั้นหนาตัดดิน (Vertical distribution) เพื่อใชเปนแนวทางในการประเมินปนวโนมที่มีตอการชะลางพังทลาย
                   ของดิน สามารถวิจารณผลการทดลองได ดังนี้
                          กระบวนการเคลื่อนที่ของนิวไคลดกัมมันตรังสีตั้งแตจุดกําเนิด เชน การตกคางของรังสีคอสมิกจาก
                   อวกาศ ผลจากการทดลองระเบิดนิวเคลียร ฯลฯ ไปจนถึงการตกลงมาจากชั้นบรรยากาศลงสูพื้นผิวโลก

                   (Radioactive fallout) ลวนมีปจจัยที่มีผลตอความคงทนของนิวไคลดกัมตรังสีที่นักวิจัยสามารถตรวจวัดได
                   แตกตางกัน Cawse (1983) Cawse et al. (1988) Shotyk (1988) Hilton et al. (1993) และ Smith et al. (1995)
                   รายงานวา การเคลื่อนที่ของนิวไคลดกัมมันตรังสีในแนวตั้ง ตั้งแตชั้นบรรยากาศโลกลงไปสูชั้นหนาตัดดินที่ลึกลง
                   ไป (Radioactive flux) ลวนมีปริมาณการสะสมของธาตุกัมมันตรังสีดังกลาวที่แตกตางกันไป ขึ้นอยูปจจัย ตอไปนี้
                   ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ปริมาณอนินทรียวัตถุในดิน ความหนาแนนรวมของดิน ปริมาณน้ําฝน ชวงระยะเวลา
                   และปจจัยทางสิ่งแวดลอมทั้งระยะสั้นและยาวอื่น ๆ เปนตน
                          ภาพที่ 31 และ 32 แสดงคาเฉลี่ยปริมาณความแรงรังสีของธาตุตะกั่ว 210 ( Pb) ตอดินหนึ่งกิโลกรัม
                                                                                     210
                   เปรียบเทียบกับชวงระยะเวลาการเก็บขอมูลทั้งสามชวงเวลาและพื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลง พบวา พื้นที่เพาะปลูก
                   พืชทั่วไปที่ไมมีการวางแผนการจัดการดินที่เหมาสมใด ๆ  และพื้นที่ปายางพารา ที่ไมมีการรบกวนหนาดินโดย
                                                                      210
                   การเขตกรรม มาเปนเวลาอยางนอย 5 ป  มีแนวโนมของปริมาณ  Pb ที่ใกลเคียงกัน แมวา พื้นที่ปายางพารา
                              210
                   จะมีปริมาณ  Pb โดยเฉลี่ย มากกวา พื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  ในทุกชวงเวลาการเก็บขอมูลก็ตาม (ภาพที่ 31)
                                                                                               210
                                 210
                   กลาวคือ ปริมาณ  Pb ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน) จะมีคาเฉลี่ยนอยกวา ปริมาณ  Pb ในการ
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91