Page 78 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 78

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       72


                   ตารางที่ 23 คาเฉลี่ยปริมาณแคลเซียมในดิน (Ca) ในพื้นที่ทดลอง เก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม)

                                                            ปริมาณแคลเซียมในดิน (Ca)
                   ระดับความลึกของดิน                               (mg/kg)
                      (เซนติเมตร)      Toeslope  Footslope  Backslope  Shoulder  Summit           คาเฉลี่ย

                                         (TS)        (FS)        (BS)        (SH)       (SU)      (Mean)
                   (1) พื้นที่ปลูกพืชที่ไมมีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา
                   0 - 10               417.50      305.66      308.55      298.49     340.12    334.065a
                   10 – 20              399.60      262.87      250.36      186.19     286.22    277.049b

                   20 – 30              388.54      164.74      144.73      168.14     202.35    213.701b
                   คาเฉลี่ย (Mean)     401.880    244.425     234.547     217.608    276.232  274.938b
                   (2) พื้นที่ปาหรือพื้นที่ไมผลที่ไมมีการรบกวนหนาดิน (ใชสําหรับการอางอิงขอมูล calibration)
                   0 - 10               342.89      160.59       81.31      347.24     237.73    233.952c
                   10 – 20               91.50      611.90      439.13      252.97     512.38    381.577b
                   20 – 30              454.89      351.42      591.07      430.23     237.99    413.120a

                   คาเฉลี่ย (Mean)     296.425    374.639     370.504     343.479    329.368  342.883b
                   (3) พื้นที่ปลูกพืชของเกษตรกรที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําที่ออกแบบโดยกรมพัฒนาที่ดิน
                   0 - 10               1621.62    1464.97     1105.84     1373.57    1329.03  1379.006b
                   10 – 20              1709.15    1365.05     1408.02     1337.66    1589.50  1481.878a
                   20 – 30              1457.96    1343.28     1643.71     1170.50    1294.10  1381.908b

                   คาเฉลี่ย (Mean)    1596.246    1391.098    1385.858    1293.908  1404.209  1414.264a

                          ผลการศึกษาดานปริมาณแคลเซียมในดิน (Ca) สามารถวิจารณผลได ดังนี้ Ca เปนธาตุอาหารพืชที่มี
                   อัตราการสูญเสียออกไปจากหนาดินหรือการถูกชะลางพังทลายของดินในแนวระนาบนอยมาก ซึ่งสังเกตไดจาก

                   พื้นที่เกษตรกรทั่วไป  ที่ไมมีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ Ca โดยเฉลี่ยตามชวงระยะเวลาของการเก็บขอมูล
                   (ภาพที่ 29 ก) อยางไรก็ตาม พื้นที่ปายางพารา  และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีการเปลี่ยนแปลงของปริมาณธาตุ
                   Ca ตามชวงระยะเวลาการเก็บขอมูลแตกตางไปจากพื้นที่เกษตรกรทั่วไป  กลาวคือ ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 3
                   (เดือนสิงหาคม) พื้นที่ปายางพารา  มีปริมาณ Ca สูงที่สุด ที่ระดับความลึก 20-30 เซนติเมตร มากกวาปริมาณ
                   Ca ที่ระดับความลึก 10-20 เซนติเมตร และ 0-10 เซนติเมตร ตามลําดับ (ภาพที่ 29 ข) จะเห็นไดวา ปริมาณ Ca
                   ที่ระดับความลึก 0-10 เซนติเมตร ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน) และการเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือน
                   มิถุนายน) มีคาใกลเคียงกับ ปริมาณ Ca ที่ระดับความลึก 10-20 เซนติเมตร และ 20-30 เซนติเมตร ในการเก็บ

                   ขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) แสดงใหเห็นวา มีการชะลางธาตุ Ca ในแนวลึกหรือแนวตั้งมากที่สุด ในขณะที่
                   พื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีการลดลงของปริมาณ Ca ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 2 อยางมาก ซึ่งอาจเกิดจาก การชะ
                   ลางพัดพาธาตุ Ca ใหออกไปจากพื้นที่ศึกษาในแนวราบ จากนั้นจึงมีการชะลางพัดพาธาตุ Ca ในแนวลึกหรือ
                   แนวตั้ง เมื่อมีการเก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) ดังภาพที่ 29 ค
                          ภาพที่ 30 แสดงปริมาณธาตุ Ca ในดิน ที่เปรียบเทียบกับพื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลง ปรากฏวา พื้นที่
                   จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณ Ca สูงที่สุด แตกตางจากพื้นที่ศึกษาที่เหลือทั้งสองอยางชัดเจน ซึ่งอาจเกิดจากการ

                   ที่เกษตรกรในพื้นที่ที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา  ใชวัสดุปูนเปนสารปรับปรุงบํารุงดินในพื้นที่และมีการ
                   ตกคางอยูในดินหลังการเก็บเกี่ยวพืชจํานวนมาก
   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82   83