Page 81 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 81

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       75


                                                                                   210
                   2. การประเมินการชะลางพังทลายของดินดวยใชเทคนิคทางนิวเคลียรไอโซโทป  Pbex
                          ผลการศึกษาปริมาณการชะลางพังทลายของดินเพื่อเปรียบเทียบพื้นที่เกษตรกรรม โดยใชวิธีการ
                   ประเมินดวยเทคนิคทางนิวเคลียรไอโซโทป ดวยนิวไคลดกัมมันตรังสีของธาตุตะกั่ว 210 ( Pb) สามารถแบง
                                                                                          210
                   ประเภทการประเมินออกเปน 2 ประเภทคือ

                                                             210
                          1) การประเมินปริมาณและความเขมขนของ  Pb ในแนวตั้งหรือแนวลึก (Vertical distribution) ซึ่ง
                   เปนการอธิบาย การสูญเสียธาตุอาหารพืชลงสูชั้นดินลางหรือการชะละลาย (soil leaching) ซึ่งเปนการสูญเสีย
                   หนาดินและธาตุอาหารพืชที่ละลายน้ําไดจากดินเนื่องจากฝนและระบบชลประทาน โดยปริมาณความเขมขนของ
                                                                                                     2
                   210 Pb จะอยูในหนวย Becquerels ตอ kilogram (Bq/kg) และ Becquerels ตอ square meter (Bq/m ) โดย
                   จะรายงานออกมาตามระดับความลึกแตละระดับ (0-10 10-20 และ 20-30 เซนติมเตร) ตามแตละชวงระยะเวลา
                   ของการเก็บตัวอยางดิน
                                                                 210
                          2) การประเมินปริมาณและความเขมขนของ  Pb ในแนวราบหรือแนวตัดขวางความลาดเท
                   (Horizontal distribution) เปนการศึกษาการชะลางพังทลายของดินของพื้นที่ตามตําแหนงความลาดชัน
                   ประเภทตาง ๆ โดยสามารถประเมินอัตราการชะลางพังทลายของดิน (Soil redistribution rate; SRD) ที่

                   ประกอบดวย บริเวณที่มีการกัดกรอนหรือสูญเสียดิน (Gross erosion) หมายถึง บริเวณที่มีการเคลื่อนยายของ
                   มวลดิน และบริเวณที่มีการทับถมของตะกอนดิน (Gross deposition) หมายถึง บริเวณที่มีการสะสมหรือรวมตัว
                   กันของมวลดิน ดังนั้น การประเมินในรูปแบบนี้จะคํานวณโดยการใชสมการ Mass balance model II ของ
                                                                  210
                   Walling และ He (1999) โดยใชความแตกตางของปริมาณ  Pb inventories ที่พบในพื้นที่นั้น ๆ เปนตัวแปร
                                                        210
                                                                                             2
                   หลัก ชลประทาน โดยปริมาณความเขมขนของ  Pb จะคํานวณจากหนวย Bq/kg และ Bq/m  ใหออกมาเปน
                   ปริมาณการสูญเสียดินในหนวย ตัน ตอ เฮคตาร ตอ ป (t/ha/yr)
                          จากการอธิบายรายละเอียดขอมูลขางตน สามารถรายงานผลการศึกษาได ดังนี้


                                                            210
                   2.1 Vertical distribution and concentration of  Pbex in the study area
                                                                                                  210
                          จากการเก็บตัวอยางดินครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน) ดังตารางที่ 24 พบวา คาเฉลี่ยความแรงรังสี  Pb ตอ
                   ดิน 1 กิโลกรัม (Bq/kg) มีความแตกตางกันของ ปจจัยดานความลึกของดินและปจจัยดานความลาดชัน อยางมี
                   นัยยะสําคัญทางสถิติ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.05
                                            210
                                                                                                     210
                          คาเฉลี่ยความแรงรังสี  Pb เมื่อเปรียบเทียบกับระดับความลึกของดิน รายงานไดวา ปริมาณ  Pb
                   ปริมาณสูงที่สุดที่ระดับผิวหนาดิน และมีปริมาณที่ลดลงตามความลึกของดินที่มากขึ้น กลาวคือ พื้นที่ปลูกพืช
                                                           210
                   ทั่วไปที่ไมมีการจัดการดินใด ๆ  มีคาเฉลี่ยปริมาณ  Pb เทากับ 28.967 25.553 และ 16.891 Bq/kg ที่ระดับ
                   ความลึก 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ พื้นที่ปายางพาราที่ไมมีการรบกวนหนาดิน  มีคาเฉลี่ย
                          210
                   ปริมาณ  Pb เทากับ 28.519 26.560 และ 21.100 Bq/kg ที่ระดับความลึก 0-10 10-20 และ 20-30
                                                                                               210
                   เซนติเมตร ตามลําดับ และพื้นที่เพาะปลูกพืชที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ํา  มีคาเฉลี่ยปริมาณ  Pb เทากับ
                   27.645 23.142 และ 13.271 Bq/kg ที่ระดับความลึก 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ
                                            210
                          คาเฉลี่ยความแรงรังสี  Pb เมื่อเปรียบเทียบกับประเภทของความลาดชัน พบวา พื้นที่ศึกษาทั้งสาม
                                           210
                   แหลง มีการสะสมของปริมาณ  Pb ในบริเวณ Toeslope มากที่สุด (30.280 28.111 และ 33.049 Bq/kg ณ
                   บริเวณ Toeslope ของพื้นที่เพาะปลูกทั่วไป  พื้นที่ปายางพารา  และ พื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  ตามลําดับ) โดย
                                 210
                   เรียงลําดับปริมาณ Pb จากสูงที่สุดไปต่ําที่สุด ตามความลาดชันแตละบริเวณได ประกอบดวย พื้นที่เพาะปลูก
                                       210
                   ทั่วไป  เรียงลําดับปริมาณ Pb ไดคือ Toeslope > Footslope > Backslope > Shoulder > Summit พื้นที่
                                                   210
                   ปายางพารา  เรียงลําดับปริมาณ  Pb ไดคือ Toeslope > Shoulder > Backslope > Summit >
                                                                         210
                   Footslope และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  เรียงลําดับปริมาณ Pb ไดคือ Toeslope > Shoulder >
                   Backslope > Footslope > Summit
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86