Page 77 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 77

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       71


                          ผลการศึกษาในสวนของปริมาณแคลเซียมในดิน (Ca) ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน) พบวา
                   ปจจัยดานพื้นที่ศึกษา และปจจัยดานระดับความลึกของดิน มีปริมาณ Ca ในดินที่แตกตางกันทางสถิติอยางมีนัย
                   ยะสําคัญ ที่ระดับความเชื่อมั่น 0.01

                          เมื่อเปรียบเทียบปริมาณ Ca กับพื้นที่ศึกษาทั้งสามแหลง พบวา พื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณ Ca
                   สูงที่สุด เทากับ 1,414.26 mg/kg รองลงมาคือ พื้นที่ปายางพารา  มีปริมาณ Ca เทากับ 342.88 mg/kg และ
                   พื้นที่เพาะปลูกทั่วไป  มีปริมาณ Ca เทากับ 274.94 mg/kg ตามลําดับ
                          เมื่อเปรียบเทียบปริมาณ Ca กับระดับความลึกของดิน พบวา ปริมาณ Ca มีผกผันกับระดับความลึกของ

                   ดิน เฉพาะพื้นที่เพาะปลูกทั่วไป  โดยพื้นที่ปายางพารา  และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  พบปริมาณ Ca สูงที่สุก ที่
                   ระดับชั้นดินลาง กลาวคือ พื้นที่เพาะปลูกทั่วไป  มีปริมาณ Ca เทากับ 334.07 277.05 และ 213.70 mg/kg ที่
                   ระดับความลึกของดิน 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ พื้นที่ปายางพารา  มีปริมาณ Ca เทากับ
                   233.95 381.58 และ 413.12 mg/kg ที่ระดับความลึกของดิน 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ
                   และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณ Ca เทากับ 1,379.01 1,481.88 และ 1,381.91 mg/kg ที่ระดับความลึก
                   ของดิน 0-10 10-20 และ 20-30 เซนติเมตร ตามลําดับ

                          ในขณะที่ปริมาณ Ca เมื่อเปรียบเทียบกับความลาดชัน แมวาจะไมมีความแตกตางกันทางสถิติ แตวา
                   พื้นที่เพาะปลูกทั่วไป  มีปริมาณ Ca สูงสุด ณ บริเวณ Toeslope เทากับ 401.88 mg/kg พื้นที่ปายางพารา  มี
                   ปริมาณ Ca สูงสุด ณ บริเวณ Footslope เทากับ 374.64 mg/kg และพื้นที่จัดระบบอนุรักษฯ  มีปริมาณ Ca
                   สูงสุด ณ บริเวณ Toeslope เทากับ 1,596.25 mg/kg
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82