Page 87 - การประเมินคุณภาพดินเพื่อการเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการพื้นที่ ทางการเกษตรที่มีอัตราการชะล้างพังทลายสูงโดยใช้เทคนิคนิวเคลียร์ จังหวัดกาญจนบุรี Assessing soil quality and enhance crop productivity through agriculture management using nuclear techniques in the area of erosion in Kanchanaburi province.
P. 87

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       81


                                                                  210
                   เก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน) แตหลังจากนั้น ปริมาณ  Pb จะเพิ่มขึ้น ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือน
                   สิงหาคม) ในทางตรงกันขาม พื้นที่เพาะปลูกพืชที่มีการจัดระบบอนุรักษดินและน้ําและวางแผนดําเนินการตาม
                                                    210
                   มาตรการจัดการดินที่เหมาะสม  มีปริมาณ  Pb โดยเฉลี่ย เพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตามชวงเวลาการเก็บขอมูล และ
                   มีคามากที่สุด เมื่อเปรียบเทียบกับพื้นที่ศึกษาทั้งหมด สิ่งที่สามารถอธิบายความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นนี้ คือ ปจจัย

                                                                                               210
                   ดานปริมาณน้ําฝนและ ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน กลาวคือ ภาพที่ 31 แสดงแนวโนมของปริมาณ  Pb ในการ
                   เก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) มีแนวโนมสูงขึ้น เมื่อเปรียบเทียบกับการเก็บขอมูลครั้งที่สอง (เดือนมิถุนายน)
                                                        210
                                210
                   ซึ่งการที่ปริมาณ  Pb ที่เพิ่มขึ้นนี้ อาจเกิดจาก  Pb fallout ที่ตกลงมาจากชั้นบรรยากาศโดยมีน้ําฝนเปนอัตรา
                                                                                                   210
                   เรง ซึ่งสอดคลองกับงานวิจัยของ Smith et al. (1997) ที่รายงานวา ปริมาณหยาดน้ําฟามีผลตอปริมาณ  Pb ที่
                   ตกลงสูผิวหนาดิน
                                                                                                 210
                                                           210
                          ในขณะที่การเปรียบเทียบระหวางปริมาณ  Pb และ ระดับความลึกของดิน พบวา ปริมาณ  Pb มีคา
                   สูงที่สุด ที่ระดับความลึก 0-10 เซนติเมตร และจะลดลงเมื่อระดับความดินเพิ่มมากขึ้น (ภาพที่ 33 และ ภาพที่
                   34) โดเฉพาะการเก็บขอมูลครั้งที่ 1 (เดือนเมษายน) ในพื้นที่ปลูกพืชทั่วไป  และพื้นที่ปายางพารา  แตอยางก็
                   ตาม ในการเก็บขอมูลครั้งที่ 2 (เดือนมิถุนายน) และการเก็บขอมูลครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) พบวาพื้นที่จัดระบบ
                                   210
                   อนุรักษฯ มีปริมาณ  Pb ที่ใกลเคียงกัน ระหวางระดับความลึกที่ 0-10 เซนติเมตร และ 20-30 เซนติเมตร
                                                   210
                   (ภาพที่ 33 ค) ซึ่งการเพิ่มขึ้นของปริมาณ  Pb ที่ชั้นดินลางนี้ สามารถอธิบายไดจากงานวิจัยของ Smith et al.
                   (1997) ที่อธิบายไววา แมวานิวไคลดของธาตุกัมมันตรังสีจะมีคุณสมบัติที่เคลื่อนที่ไดนอยมากในชั้นดิน

                   (Redionuclide mobility) และตองใชระยะเวลานานในการเคลื่อนที่ลงสูชั้นดินที่ลึกลงไป (Redionuclide
                   penetration) แตก็มีปจจัยระยะสั้นที่สามารถเรงอัตราการเคลื่อนที่ของนิวไคลดกัมมันตรังสี ที่ทําใหปริมาณ
                   210 Pb เพิ่มขึ้นไดในชั้นดินลาง คือ ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน ความพรุนของดิน ความหนาแนนรวมของดิน และ
                   ปริมาณน้ําฝน เปนตน นอกจากนี้ Smith et al. (1997) การไถพรวนของดิน หรือการทําใหดินมีความพรุนมากขึ้น
                                    210
                   ลวนสงผลใหปริมาณ  Pb มีโอกาสในการเคลื่อนที่ลงสูชั้นดินเพิ่มสูงขึ้น ซึ่งสอดคลองกับผลการศึกษาที่แสดงให
                   เห็นวา พื้นที่ที่มีการจัดระบบอนุรักษดินน้ํา  มีปริมาณ OM ที่สูงที่สุด และมีมาตรการปองกันการสูญเสียหนาดิน
                   และธาตุอาหารพืชจากการพัดพาโดยน้ํา ไมใหเคลื่อนที่ออกจากดินในแนวราบ จึงสงผลใหปริมาณธาตุอาหารพืช
                   เชน OM P K Ca และ Mg เปนตน มีปริมาณเพิ่มขึ้นในชั้นดินลาง เมื่อมีปริมาณน้ําฝนเพิ่มขึ้น ในชวงการเก็บขอมูล
                   ครั้งที่ 3 (เดือนสิงหาคม) ซึ่งอาจกลาวไดวา การศึกษาการเคลื่อนที่ปริมาณ  Pb สามารถทํานายถึงการเคลื่อนที่
                                                                             210
                   ของปริมาณธาตุอาหารในชั้นหนาตัดดินได
   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91   92