Page 31 - การประเมินประสิทธิภาพของสระน้ำในไร่นาของเกษตรกรทั่วประเทศจากอิทธิพลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรง The Performance of Farm Pond Impactsof extreme Climate Change.
P. 31
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
20
ภาคตะวันออกมีเกษตรกรจ านวน 14 ราย มีพื้นที่เพาะปลูกเฉลี่ย 13 ไร่ มีรายได้เฉลี่ยก่อนและหลัง
การขุดสระน้ า 22,464 และ 30,607 บาทต่อไร่ ซึ่งมีรายได้เพิ่มขึ้น 8,143 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็น 38.45
เปอร์เซ็นต์
และภาคใต้มีเกษตรกรจ านวน 4 ราย มีพื้นที่เพาะปลูกเฉลี่ย 16 ไร่ มีรายได้เฉลี่ยก่อนและหลังการขุด
สระน้ า 12,935 และ 15,060 บาทต่อไร่ ซึ่งมีรายได้เพิ่มขึ้น 2,125 บาทต่อไร่ หรือคิดเป็น 13.33 เปอร์เซ็นต์
รายละเอียดแสดงดังตารางที่ 6
ตารางที่ 6 ข้อมูลรายได้ก่อนและหลังขุดสระของเกษตรกร
จ้านวน พื นที่ รายได้ รายได้ รายได้ รายได้
ภาค เกษตรกร เพาะปลูก ก่อนขุดสระ หลังขุดสระ เพิ่มขึ น/ลดลง เพิ่มขึ น/ลดลง
(ราย) (ไร่) (บาท/ไร่) (บาท/ไร่) (บาท/ไร่) (ร้อยละ)
ภาคเหนือ 34 21 4,193 4,925 732 48.47
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 149 12 5,005 7,742 2,737 80.87
ภาคกลาง 10 8 19,576 32,373 12,797 118.19
ภาคตะวันออก 14 13 22,464 30,607 8,143 38.45
ภาคใต้ 4 16 12,935 15,060 2,125 13.33
รวม 211 14 12,834 18,141 5,307 59.86
ทั้งนี้ จากการศึกษาภาวะความยากจนของครัวเรือนเกษตรกรของส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร
(2563) พบว่า ครัวเรือนเกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีสัดส่วนของครัวเรือนที่ยากจนมากที่สุด
รองลงมาคือ ครัวเรือนในภาคเหนือ ภาคกลาง และภาคใต้ ตามล าดับ ส่งผลให้เกษตรกรในภาคเหนือและภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือมีรายได้น้อยกว่าเกษตรกรในภาคอื่น ๆ ดังนั้น การขุดสระน้ าในไร่นานอกจากจะเป็นการ
ช่วยบรรเทาปัญหาภัยแล้ง การขาดแคลนน้ า ยังสามารถเพิ่มรายได้และช่วยบรรเทาปัญหาภาวะความยากจน
ของเกษตรกรได้อีกด้วย