Page 26 - การประเมินประสิทธิภาพของสระน้ำในไร่นาของเกษตรกรทั่วประเทศจากอิทธิพลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรง The Performance of Farm Pond Impactsof extreme Climate Change.
P. 26
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
15
ตารางที่ 3 ท าการรวบรวมข้อมูลทางสารสนเทศภูมิศาสตร์ในแต่ละปัจจัย
ข้อมูล ที่มา รายละเอียด
1. ขอบเขตพื้นที่ชลประทาน กรมชลประทาน ขอบเขตพื้นที่ระบบชลประทาน
2. การแพร่กระจายดินเค็ม ส านักวิจัยและพัฒนาฯ แสดงแผนที่ระดับความเค็มของดินในรูป
กรมพัฒนาที่ดิน ปริมาณเกลือบนผิวดิน คิดเป็นเปอร์เซ็นต์
3. การใช้ประโยชน์ที่ดิน กองวางแผนการใช้ที่ดิน แสดงประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน
กรมพัฒนาที่ดิน
4. ความสามารถในการซาบซึม การวิเคราะห์ข้อมูล ใช้จุดเก็บตัวอย่างที่ทราบค่าความสามารถใน
น้ าของดินที่อิ่มตัว การซาบซึมน้ า แล้วท าการปริมาณค่าในช่วง
(Interpolation)
5. ระดับความเสี่ยงต่อภาวะ ส านักวิจัยและพัฒนา ฯ แสดงระดับความเสี่ยงต่อภาวะขาดแคลนน้ า
ความเป็นทะเลทราย กรมพัฒนาที่ดิน
6. ความลาดชันของพื้นที่ การวิเคราะห์ข้อมูล ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลแบบจ าลองความสูง
(DEM) ขนาด 30 X 30 เมตร
4.3 วิเคราะห์ข้อมูล
4.3.1 ท าการวิเคราะห์เชิงพื้นที่ด้วยวิธี Ranking and Weighting Model ใช้เทคนิค
การวิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการซ้อนทับ (Overlay) ในรูปแบบ Raster โดยน าชั้นข้อมูลทั้งหมดในแต่ละปัจจัยที่
ท าการให้ช่วงคะแนน (Weighting scores) มาซ้อนทับและค านวณด้วยสมการที่ก าหนดไว้ (ตัวอย่างดังสมการ
ที่ 1) จากนั้นท าการจ าแนกระดับความเหมาะสมต่อการท าแหล่งน้ า
สมการที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล :
Sw = (irr x saline x landuse) + ks + desert + slope) ..................สมการที่ 1
โดย
Sw = คะแนนความเหมาะสมต่อการท าแหล่งน้ า
irr = พื้นที่ชลประทาน
saline = การแพร่กระจายดินเค็ม
landuse= การใช้ประโยชน์ที่ดิน
ks = ความสามารถในการซาบซึมของดินอิ่มตัว
desert = ระดับความเสี่ยงต่อภาวะความเป็นทะเลทราย
slope = ระดับความลาดชันของพื้นที่
4.3.2 ท าการแก้ไขข้อผิดพลาดของผลการวิเคราะห์อันเนื่องมาจากข้อจ ากัดของ
โปรแกรมที่ใช้ในการประมวลผล
4.3.3 ท าการตรวจสอบความถูกต้องและ Validate Model