Page 13 - การประเมินประสิทธิภาพของสระน้ำในไร่นาของเกษตรกรทั่วประเทศจากอิทธิพลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรง The Performance of Farm Pond Impactsof extreme Climate Change.
P. 13
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
2
วัตถุประสงค์
1. ติดตามผลกระทบของปริมาณน้ าจากสระน้ าในไร่นาเกษตรกรที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
2. ประเมินผลกระทบความเสียหายจากสภาพการเปลี่ยนแปลงอากาศ
3. เสนอแนวทางการเลือกพื้นที่ในการสร้างสระน้ าในไร่นาโดยใช้หลักอุทกวิทยาเพื่อลดความเสียหายจาก
สภาพอากาศที่รุนแรงในรูปแบบของแผนที่ Zoning
การตรวจเอกสาร
สระน ้าในไร่นา (Farm pond) หรือสระขุด (Excavated pond) คือ สระน้ าหรือสระเก็บน้ าที่ขุด
ขึ้นเพื่อเป็นแหล่งเก็บกักน้ าฝน น้ าท่า น้ าที่ไหลออกจากดินและน้ าที่ไหลผ่านผิวดินลงในสระ โดยขุดดินให้มี
ขนาดความกว้าง ความยาว และความลึก ตามจ านวนน้ าที่ต้องการจะเก็บกักไว้ และน าดินที่ขุดนั้นมาถมเป็น
คันรอบสระ (ส านักส ารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน, 2557)
กรมพัฒนาที่ดินจัดท าโครงการแหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทาน ตามการมอบหมายจาก
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ โดยการขุดสระน้ าในไร่นาขนาด 1,260 ลูกบาศก์เมตร และให้เกษตรกรมีส่วน
ร่วมในการออกค่าใช้จ่าย 2,500 บาทต่อสระ มีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการบรรเทาสภาพปัญหาภัยแล้ง การขาด
แคลนน้ า และเพิ่มประสิทธิภาพ การเก็บกักน้ าในพื้นที่ท าการเกษตรของเกษตรกร เพื่อเกษตรกรในพื้นที่นอก
เขตชลประทานได้มีแหล่งน้ าที่เหมาะสมกับการเกษตร เป็นการสนับสนุนการท าเกษตรแบบผสมผสานตาม
หลักทฤษฎีใหม่อันเนื่องมาจากพระราชด าริ โดยมีเงื่อนไขการเข้าร่วมโครงการ การคัดเลือกเกษตรกร
คัดเลือกพื้นที่เป้าหมาย และรูปแบบการก่อสร้างแหล่งน้ า ดังนี้
เงื่อนไขการเข้าร่วมโครงการ
1. พื้นที่ขุดสระน้ าจะต้องเป็นพื้นที่ท าการเกษตรที่เกษตรกรเป็นเจ้าของและมีเอกสารสิทธิ์ และมี
หนังสือยินยอมให้เข้าด าเนินการขุดสระน้ า
2. เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการจะมีส่วนร่วมในการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการด าเนินการขุดสระน้ า
เช่น ค่าน้ ามันเชื้อเพลิง และค่าขนย้ายเครื่องจักรกล จ านวน 2,500 บาทต่อสระ ให้ผู้รับจ้าง
กรมพัฒนาที่ดิน โดยสถานีพัฒนาที่ดินตรวจสอบความเหมาะสมของพื้นที่ขุดสระน้ าและความพร้อม
ของเกษตรกร
การคัดเลือกเกษตรกร
1. คัดเลือกเกษตรกรจากแผนความต้องการสระน้ าที่เกษตรกรได้มายื่นความจ านงไว้แล้ว โดยน า
ความต้องการของเกษตรกรที่มาแจ้งความจ านงในการก่อสร้างแหล่งน้ าในไร่นา พิจารณาความส าคัญจาก
จังหวัดที่มีความต้องการมากมาพิจารณาก าหนดเป้าหมายและให้ความส าคัญเป็นล าดับต้น ๆ
2. สถานีพัฒนาที่ดินและหมอดินอาสาประจ าต าบล/หมู่บ้าน ส ารวจศักยภาพของพื้นที่และความ
พร้อมของเกษตรกรที่แจ้งความต้องการขุดสระน้ าไว้แล้ว
2.1 เกษตรกรมีความตั้งใจประกอบอาชีพทางการเกษตร มีความพร้อมเข้าร่วมโครงการและ
สามารถมีส่วนร่วมในการสนับสนุนค่าใช้จ่ายในการด าเนินการขุดสระน้ า สระละ 2,500 บาท
2.2 เกษตรกรเป็นเจ้าของพื้นที่ก่อสร้างที่ใช้เป็นพื้นที่ท าการเกษตรมีเอกสารสิทธิ์และหนังสือ
ยินยอมให้เข้าด าเนินการก่อสร้าง