Page 9 - การประเมินประสิทธิภาพของสระน้ำในไร่นาของเกษตรกรทั่วประเทศจากอิทธิพลจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรง The Performance of Farm Pond Impactsof extreme Climate Change.
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน



                   ทะเบียนวิจัยเลขที่    61-63 18-27-020000-009-108-06-13

                   ชื่อโครงการวิจัย     การประเมินประสิทธิภาพของสระน้ าในไร่นาของเกษตรกรทั่วประเทศจากอิทธิพล
                                        จากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรง
                                        The Performance of Farm Pond Impacts of extreme Climate Change
                   กลุ่มชุดดิน           -
                   สถานที่ด้าเนินการ     ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศและห้องปฏิบัติการกรมพัฒนาที่ดิน

                                        จังหวัดกรุงเทพมหานคร
                   ผู้ร่วมด้าเนินการ     นายยุทธศาสตร์ อนุรักติพันธุ์   Mr. Yuthasart  Anuluxtipun
                                         นางสาวสมจินต์ วานิชเสถียร   Miss Somjin  Wanichsathian

                                         นางสาววิชิตา อินทรศรี       Miss Wishita Intarasree
                                         นายธนัญชย์ ด าข า           Mr. Thanun Dumkhum
                                         นายพงศ์ธร เพียรพิทักษ์      Mr. Phongthorn  Phianphitak
                                         นายณรงค์เดช ฮองกูล          Mr. Narongdech Hongkul



                                                            บทคัดย่อ


                          โครงการประเมินประสิทธิภาพของสระน้ าในไร่นาของเกษตรกรทั่วประเทศจากอิทธิพลการ
                   เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรง ระยะเวลาด าเนินการปี พ.ศ. 2561 – 2563 วัตถุประสงค์เพื่อติดตาม
                   ผลกระทบการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศต่อปริมาณน้ าของสระน้ าในไร่นาเพื่อเสนอแนวทางเลือกพื้นที่ใน
                   การสร้างสระน้ าในไร่นาตามหลักอุทกวิทยา โดยการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศภูมิศาสตร์ การแปล

                   ภาพถ่ายดาวเทียมธีออส จ านวน 649 ภาพ ครอบคลุมพื้นที่ 69 จังหวัด เนื้อที่ 295 ล้านไร่ ด้วยเทคนิค
                   Supervised  Classification  และท าการก าหนดขนาดสระน้ า 1,260 ลูกบาศก์เมตร เป็นการก าหนดความ
                   แม่นย าในการท า sub-pixel แล้ววิเคราะห์ผลร่วมกับข้อมูลความแห้งแล้งซ้ าซากสู่ภาวะความเป็นทะเลทราย

                   กับอีกชั้นข้อมูลคือพื้นที่ความเหมาะสมส าหรับการสร้างสระน้ าในไร่นาของประเทศไทย โดยน าเข้าพิกัด
                   สระน้ าในไร่นาของกรมพัฒนาที่ดินเพื่อตรวจสอบความถูกต้องและปรับปรุงค่าพิกัดสระน้ า พร้อมเลือกที่จะท า
                   การส ารวจข้อมูลภาคสนามเป็นตัวแทนผู้ได้รับคัดเลือกขุดสระน้ านอกเขตชลประทาน จากการแปลภาพถ่าย
                   ดาวเทียมสามารถระบุต าแหน่งของสระน้ าในไร่นาที่มีขนาด 1,260 ลูกบาศก์เมตร ได้จ านวน 368,103 สระ
                   ตั้งแต่ปี 2548-2561 พบว่ามีสระน้ าที่อยู่ในพื้นที่ราบระดับความเสี่ยงในพื้นที่แห้งแล้งซ้ าซากจาก ความเสี่ยง

                   ต่ า ปานกลาง และสูง จ านวน 260,457 84,248 และ 2,994 สระ คิดเป็น 70.76 22.89 และ 0.81
                   เปอร์เซ็นต์ นอกจากนี้กรมพัฒนาที่ดินไปขุดสระน้ าที่อยู่ในพื้นที่สูงระดับความเสี่ยงแห้งแล้งซ้ าซาก จ านวน
                   2,240 6,958 และ 3,022 สระ คิดเป็น 0.61 1.89 และ 0.82 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ การใช้ชุดข้อมูลความ

                   เหมาะสมในการขุดสระน้ า พบว่ากรมพัฒนาที่ดินขุดสระน้ าในพื้นที่ไม่เหมาะสมและเหมาะสมทั้งสิ้น 133,497
                   และ 226,701 สระ คิดเป็น 36.27 และ 61.59 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ
                          จากการส ารวจภาคสนามที่เป็นตัวแทนของการขุดสระน้ าในพื้นที่เกษตรกรนอกเขตชลประทาน
                   จ านวน 367 สระ พบว่ามีสระน้ าภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 191 สระ ภาคเหนือ 111 สระ ภาคกลาง 40 สระ

                   ภาคตะวันออก 19 สระ และภาคใต้ 6 สระ เป็นล าดับ เมื่อประเมินปริมาตรของน้ าในสระ ที่มีมากกว่า 75%
                   มีจ านวน 132 สระ มีปริมาตร 51-75% มีจ านวน 140 สระ มีปริมาตร 26-50% มีจ านวน 67 สระ น้อยกว่า
                   25% โดยปริมาตร มีจ านวน 23 สระ และสุดท้ายน้ ายังไม่ไหลเข้าสระ มีอยู่เพียง 5 สระเท่านั้น ซึ่งการส ารวจ
                   เป็นเพียงภาพสะท้อนการขุดสระได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่รุนแรงในด้านของ
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14