Page 56 - ผลกระทบจากการเผาตอซังและไม่ไถพรวนต่อสมบัติดินเพื่อ การปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์บนพื้นที่สูง จังหวัดเชียงใหม่ Effects of Burning and No-tillage on Soil Properties forMaize Production on Upland in Chiang Mai Province.
P. 56

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           41

                                                                                    Treatment
                              Economic return                Unit
                                                                        T1         T2         T3         T4

                    2.ผลผลิตที่คาดว่าจะเก็บเกี่ยวได้ในแปลง   กก.      1,027.50      961.04   1,021.32      989.27

                    3.ราคาที่คาดว่าจะขายได้                บาท/กก.         8.6        8.6        8.6       8.6
                                          -2
                    4.ผลการคำนวณตามต้นทุนของท่าน              ไร่              1             1             1             1

                       ต้นทุนรวม ของเกษตรกร                บาท/ไร่       3,815        4,461        4,461        3,815

                       รายได้                              บาท/ไร่       8,837        8,265        8,783        8,508
                       กำไรสุทธิ                           บาท/ไร่      5,021       3,804       4,323       4,692

                    5.ต้นทุนของ สศก.                       บาท/ไร่       4,470        4,470        4,470        4,470

                    ที่มา : ศูนย์สารสนเทศการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์
                    https://www.moac.go.th/news-preview-411191791918


                   3.ผลการวิจัยการปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ปี 2563

                          1.ปริมาณน้ำฝนในพื้นที่ศึกษา


                             ปริมาณน้ำฝนปี 2563 ที่สถานีตรวจวัดน้ำฝนกรมชลประทาน อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่
                   ปริมาณน้ำฝนสะสมเฉลี่ยระหว่างเดือนเมษายน ถึงเดือนพฤศจิกายน เป็นเวลา 8 เดือน ดังแสดงในตารางที่

                   25 ภาพที่ 7 พบการกระจายตัวของปริมาณน้ำฝนบริเวณอำเภอแม่แจ่มดังนี้ เดือนเมษายนมีปริมาณน้ำฝน

                   สะสม 46.6 มิลลิเมตร เดือนพฤษภาคมมีปริมาณน้ำฝนสะสม 54.6 มิลลิเมตร เดือนมิถุนายนมีปริมาณน้ำฝน
                   สะสม 102.6 มิลลิเมตร เดือนกรกฎาคมมีปริมาณน้ำฝนสะสมสูงสุดที่ 192.8 มิลลิเมตร สำหรับเดือนสิงหาคม

                   กันยายน ตุลาคม และพฤศจิกายน มีปริมาณน้ำฝนสะสมที่ 115.6  64.8  19.9 และ 3.6 มิลลิเมตร
                   ตามลำดับ ปี 2563 มีปริมาณน้ำฝนสะสมรายปีที่ 600.5 มิลลิเมตร โดยเดือนกรกฎาคม มีปริมาณน้ำฝนเฉลี่ย

                   รายวันสูงสุดที่ 6.2 มิลลิเมตร และวันที่ 28 กรกฎาคม 2563 มีปริมาณน้ำฝนสะสมรายวันสูงสุดที่ 34.5

                   มิลลิเมตร

                   ตารางที่ 25 ข้อมูลน้ำฝนรายเดือน อำเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่ ปี 2563

                                                      ปริมาณน้ำฝน (มิลลิเมตร)
                    วันที่
                           ม.ค.  ก.พ.  มี.ค.  เม.ย.  พ.ค.   มิ.ย.   ก.ค.   ส.ค.   ก.ย.  ต.ค.  พ.ย.  ธ.ค.  รวม

                      1      0     0    0      0    0.4      0     9.2       0   0.2     0  0.2     0    10.0
                      2      0     0    0      0     0       0       7    29.3     0     0     1    0    37.3

                      3      0     0    0      0    0.2    0.6       0       6     0     0     0    0     6.8
                      4      0     0    0      0     0     7.4       2     6.2   1.2     1     0    0    17.8

                      5      0     0    0      0     0       0     2.6     5.5     0    0.2  0.2    0     8.5
                      6      0     0    0      0     0     8.8       0     0.2   2.5    0.4    0    0    11.9
                      7      0     0    0      0     0     6.6    22.6       6     0     0  2.2     0    37.4

                      8      0     0    0      0    0.2      2       2     0.2    10     0     0    0    14.4
   51   52   53   54   55   56   57   58   59   60   61