Page 26 - ศึกษาผลกระทบจากการเผาเศษวัสดุทางเกษตรต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แจ่มและศึกษาการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากล
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           14

                                                  ระยะเวลาและสถานที่ด้าเนินการ

                   ระยะเวลาด้าเนินงาน  เริ่มต้นเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2560
                                         สิ้นสุดเดือน กันยายน พ.ศ. 2563

                   สถานที่ด้าเนินการ     1. สถานที่ตั้ง ต าบลกองแขก อ าเภอแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่



                                                        อุปกรณ์และวิธีการ

                   การท้านายผลผลิตข้าวและข้าวโพดเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศที่รุนแรง บริเวณพื นที่สูง
                   ลุ่มน ้าแม่แจ่ม

                   วิธีการ
                          1. วางแผนส ารวจข้อมูล และวางจุดส ารวจ
                          เลือกจุดส ารวจ โดยแบ่งออกเป็นพื้นที่ต้นน้ า กลางน้ า และปลายน้ า ของลุ่มน้ าแม่แจ่มตอนล่าง ใน
                   การท าแบบสอบถามเกี่ยวกับ ต้นทุน รายได้ ผลผลิต การจัดการพื้นที่เพาะปลูก ระบบการให้น้ าพื้นที่

                   เพาะปลูก และข้อมูลที่ใช้ในการจ าลองโปรแกรม AquaCrop เวอร์ชัน 5
                          2. ด าเนินงานจัดรวบรวมฐานข้อมูล
                            2.1 ข้อมูลเกี่ยวกับสภาพภูมิอากาศจากกรมอุตุนิยมวิทยา ได้แก่ อุณหภูมิสูงสุด อุณหภูมิต่ าสุด
                   ปริมาณน้ าฝน ความเร็วลม ความชื้นสัมพัทธ์ รังสีดวงอาทิตย์ รายวัน ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2523 ถึงปัจจุบัน เพื่อ

                   จ าลองการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศในปี พ.ศ. 2573 และ 2603 ด้วยแบบจ าลอง PRECIS
                            2.2 ข้อมูลของกรมพัฒนาที่ดินที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลชุดดิน กลุ่มชุดดิน การใช้ประโยชน์ที่ดิน พื้นที่
                   เสี่ยงภัย ข้อมูลเศรษฐกิจการเกษตรของพืชหลัก ข้อมูลทางเคมีและกายภาพของดิน ข้อมูลด้านอนุรักษ์ดินและ

                   น้ า ดินที่มีปัญหา งานวิจัยที่เกี่ยวข้องทั้งการปรับปรุงบ ารุงดินและเกษตรอินทรีย์
                          3. การเก็บข้อมูลสนาม
                            3.1 การท าแบบสอบถามและการสัมภาษณ์เกษตรกร
                            3.2 การจัดการพื้นที่เพาะปลูก ได้แก่ ชนิดดิน (Soil type) ความอุดมสมบูรณ์ดิน (Soil fertility)
                   ความสูงคันดิน (Soil bund) สิ่งปกคลุมดิน (Mulches)

                            3.3 การเจริญเติบโตของพืช ได้แก่ การปกคลุมพื้นที่เรือนยอด (Canopy cover), มวลชีวภาพ
                   (Biomass) และปริมาณความชื้นในดิน (Soil water content) ของนาข้าวและแปลงข้าวโพดรวมทั้งลักษณะ
                   ทั่วไปของพื้นที่ศึกษา

                          4. ด าเนินการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล
                            4.1 วิเคราะห์ความอุดมสมบูรณ์ของดินด้วยเครื่อง Elemental Analyzer
                            4.2 วิเคราะห์ต้นทุนและผลตอบแทนทางเศรษฐกิจที่ได้จากแบบสอบถามและการสัมภาษณ์
                   เกษตรกรในพื้นที่ปลูกข้าวและข้าวโพดบริเวณพื้นที่สูงลุ่มน้ าแม่แจ่ม จังหวัดเชียงใหม่

                            4.3 ด าเนินการศึกษา ท านายผลผลิตข้าวและข้าวโพดในปี พ.ศ. 2573 และ 2603 ด้วยโปรแกรม
                   AquaCrop เวอร์ชัน 5 ภายใต้การปล่อยก๊าซเรือนกระจกตามแบบจ าลอง RCP6.0 และ RCP8.5 จากนั้น
                   จัดท าแผนที่ผลผลิตข้าวและข้าวโพดจากการท านายด้วยโปรแกรมทางด้านสารสนเทศภูมิศาสตร์
                          5. สรุปผลการศึกษา
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31