Page 16 - ศึกษาผลกระทบจากการเผาเศษวัสดุทางเกษตรต่อการปลูกพืชเศรษฐกิจในพื้นที่ลุ่มน้ำแม่แจ่มและศึกษาการชะล้างพังทลายของดินด้วยแบบจำลองการสูญเสียดินสากล
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                            4































                   ภาพที่ 1 ปริมาณฝนสะสมของภาคเหนือ

                   ที่มา: กรมอุตุนิยมวิทยา (www.tmd.go.th)

                          ภัยแล้งในประเทศไทยส่วนใหญ่มีผลกระทบต่อการเกษตรกรรม โดยเป็นภัยแล้งที่เกิดจากขาดฝนหรือ
                   ฝนแล้ง ในช่วงฤดูฝน และเกิด ฝนทิ้งช่วง ในเดือนมิถุนายนต่อเนื่องเดือนกรกฎาคม พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบ
                   จากภัยแล้งมาก ได้แก่บริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง เพราะเป็นบริเวณที่อิทธิพลของมรสุม
                   ตะวันตกเฉียงใต้เข้าไปไม่ถึง และถ้าปีใดไม่มีพายุหมุนเขตร้อนเคลื่อนผ่านในแนว ดังกล่าวแล้วจะก่อให้เกิดภัย

                   แล้งรุนแรงมากขึ้น นอกจากพื้นที่ดังกล่าวแล้ว ยังมีพื้นที่อื่นๆ ที่มักจะประสบปัญหาภัยแล้งเป็นประจ า ดังนั้น
                   การจัดการที่ส าคัญอย่างหนึ่งเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีคุณภาพดีในปริมาณที่สูง คือ การจัดการน้ าให้เหมาะสมตาม
                   ความต้องการของพืช ซึ่งจ าเป็นต้องทราบปริมาณการคายน้ าหรือการใช้น้ าของพืชแต่ละชนิด เพื่อใช้เป็น

                   แนวทางส าหรับการจัดการน้ าของไม้ยืนต้นเศรษฐกิจให้เหมาะสมและแม่นย ามากยิ่งขึ้น ซึ่งน าไปสู่การเพิ่ม
                   ประสิทธิภาพการผลิตของไม้ยืนต้นเศรษฐกิจต่อไป (สุภัทร์, 2555)

                   2. การก้าหนดการให้น ้าแก่พืช (ธีระพล, 2549)

                          การก าหนดการให้น้ าแก่พืชเป็นเรื่องที่มีความส าคัญเป็นอย่างยิ่ง ในการชลประทานระดับไร่นา ซึ่งจะ
                   เกี่ยวพันและมีผลกระทบโดยตรงต่อการปลูกพืชให้เจริญเติบโตได้ดีและให้ผลผลิตสูง ตลอดจนเพื่อให้ได้
                   ประโยชน์จากน้ าชลประทานอย่างเต็มที่การที่จะก าหนดการให้น้ าให้ถูกต้องเหมาะสมจ าเป็นที่จะต้องมีความรู้
                   พื้นฐานเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างดิน-น้ า-พืช เป็นอย่างดี เรื่องดินจ าเป็นที่จะต้องรู้คุณสมบัติของดินใน

                   แปลงเพาะปลูกเกี่ยวกับขีดความสามารถในการอุ้มน้ าไว้ได้ของดิน ความชื้นในดินที่จะยอมให้พืชดูดเอาไป
                   ใช้ได้ ลักษณะการดูดซึมน้ าของดินและความสามารถในการระบายน้ าของดิน เรื่องน้ าจ าเป็นต้องรู้ถึงปริมาณ
                   และคุณภาพน้ าชลประทานตลอดจนรอบเวรในการส่งน้ าชลประทาน และเรื่องพืชจ าเป็นที่จะต้องรู้คุณสมบัติ

                   บางประการของพืช เช่น การใช้น้ าของพืช ความสามารถในการทาแล้ง และระยะวิกฤตของพืช ความส าเร็จ
                   หรือล้มเหลวของการให้น้ าแก่พืชหรือการชลประทานระดับไร่นาขึ้นอยู่กับผู้ที่ท าหน้าที่ในการก าหนดการให้น้ า
                   แก่พืช จะมีความรู้ความเข้าใจตลอดจนมีข้อมูลเกี่ยวกับ ดิน น้ า และ พืช มากน้อยแค่ไหน พึงจ าไว้เสมอว่าการ
                   ก าหนดการให้น้ าที่ไม่เหมาะสม นอกจากก่อให้เกิดการสูญเสียน้ าโดยเปล่าประโยชน์แล้วยังก่อให้เกิดผล

                   เสียหายแก่พืชและผลผลิตตลอดจนอาจก่อให้เกิดปัญหาเรื่องการระบายน้ าตามมาอีกด้วย
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21