Page 10 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 10

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           1-2






                  1.3  ขอบเขตดําเนินงาน


                         1.3.1 ระยะเวลาการดําเนินการ จํานวน 1 ป ตั้งแตวันที่ 1 ตุลาคม 2561 ถึง 30 กันยายน 2562
                         1.3.2 ขอบเขตที่ศึกษา ประเมินเฉพาะดานผลผลิต โดยไมไดคํานึงถึงปริมาณสารสําคัญ

                  ทางดานการแพทย และเปนพื้นที่เกษตรกรรมที่ไมไดพิจารณาถึงการผลิตในรูปแบบเกษตรอินทรีย

                         1.3.3 พืชสมุนไพรที่ศึกษา จํานวน 10 ชนิด ไดแก กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด
                  พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน


                  1.4  ขั้นตอนและวิธีดําเนินงาน


                         1.4.1 ศึกษาขอมูลดานความตองการดานพืช และปจจัยที่สงเสริมการเจริญเติบโตของพืช

                  สมุนไพร ตลอดจนแนวทางการผลิตเพื่อใชในทางการแพทย

                         1.4.2 รวบรวมขอมูลทั่วไป
                          1) ขอมูลเชิงอรรถาธิบาย ไดแก ขอมูลดานทรัพยากรตางๆ ที่เกี่ยวของ คือ สภาพ

                  ภูมิอากาศ ทรัพยากรดิน ทรัพยากรน้ํา ทรัพยากรปาไม สภาพ การใชที่ดิน ตลอดจนนโยบายของรัฐบาล

                  ที่เกี่ยวของ
                          2) ขอมูลเชิงพื้นที่ ไดแก ขอมูลแผนที่สภาพภูมิประเทศ ขอบเขตการ ปกครอง แผนที่

                  กลุมชุดดิน และแผนที่การใชที่ดิน

                         1.4.3  นําเขาขอมูลเชิงพื้นที่และอรรถาธิบายและวิเคราะห โดยโปรแกรมสําเร็จรูปและ
                  โปรแกรมระบบสารสนเทศภูมิศาสตร (Geographic Information System: GIS)

                         1.4.4 ประเมินคุณภาพที่ดินดานกายภาพสําหรับสมุนไพร 10 ชนิด (Qualita tive land
                  evaluation) ประกอบดวยขั้นตอน ดังนี้

                           1) ศึกษาและวิเคราะหคุณภาพที่ดิน (Land quality) ของประเทศไทย

                           2) กําหนดหลักเกณฑการเลือกคุณภาพที่ดินที่ใชในการประเมินความเหมาะสมของที่ดิน
                  ไดแก ขอมูลแผนที่สภาพ ภูมิประเทศ ขอบเขตการปกครอง แผนที่กลุมชุดดิน และแผนที่การใชที่ดิน

                           3) กําหนดคุณภาพของที่ดินที่ใชในการประเมินความเหมาะสมของที่ดิน
                           4) วิเคราะหและกําหนดความตองการของประเภทการใชประโยชนที่ดิน (Land-use

                  requirements)

                           5) วิเคราะหและจําแนกชั้นความเหมาะสมของที่ดิน (Land suitability classification)
                        1.4.5 จัดทําแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชสมุนไพร 10 ชนิด

                        1.4.6 จัดทํารายงานแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับพืชสมุนไพร 10 ชนิด

                        แสดงขั้นตอนและวิธีดําเนินงานไดดังนี้ (รูปที่ 1-1)





                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14   15