Page 9 - แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสำหรับการปลูกพืชสมุนไพร กระเจี๊ยบแดง เก็กฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแว้งเครือ และมะแว้งต้น
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                           1-1






                                                         บทที่ 1



                                                          บทนํา



                  1.1  หลักการและเหตุผล

                      สมุนไพรไทย มีความเปนมาที่ควบคูสังคมไทยตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัยตอเนื่องมาจนถึงปจจุบัน โดย

                  ไดนํามาใชเปนสวนประกอบสําคัญในการปรุงอาหารที่เปนเอกลักษณของไทย นํามาใชเปน
                  ยารักษาโรคใชในการดูแลสุขภาพ เปนยาอายุวัฒนะ รวมถึงดานการเสริมความงาม ซึ่งภูมิปญญาเหลานี้

                  ไดรับการสั่งสม สืบทอด และพัฒนาตอเนื่อง สรางคุณคาและมูลคาใหแกสมุนไพรไทย

                  มาจนถึงปจจุบัน ความตองการใชสมุนไพรของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง เนื่องมาจากความสนใจ
                  ในการดูแลรักษาสุขภาพดวยผลิตภัณฑจากธรรมชาติ ซึ่งสมุนไพรไทยสามารถเปลี่ยนเปนผลิตภัณฑได

                  หลากหลาย เพื่อตอบสนองตอความตองการของผูบริโภคทั้งตลาดภายใน และภายนอกประเทศสําหรับ
                  ประเทศไทย พืชสมุนไพรที่ชุมชนรูจักสรรพคุณและนํามาใชประโยชน มีประมาณ 1,800 ชนิด และมี

                  300 ชนิด ที่ใชเปนวัตถุดิบสมุนไพรหมุนเวียนตามความตองการของตลาด อยางไรก็ตามสมุนไพรไทย

                  ยังคงประสบปญหาการขาดแคลนวัตถุดิบ คุณภาพวัตถุดิบไมผานมาตรฐาน และปญหาดานการกําหนด
                  มาตรฐานคุณภาพวัตถุดิบ อันเนื่องมาจากมีการบริหารจัดการสมุนไพรที่ไมเปนระบบ พื้นที่ปลูกไม

                  เหมาะสม สงผลใหผลผลิตต่ํา ไมเพียงพอตอความตองการของตลาด
                      กรมพัฒนาที่ดิน จึงไดจัดทําโครงการจัดทําแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับปลูกพืชสมุนไพร

                  ขึ้น เพื่อใชเปนขอมูลประกอบการตัดสินใจในการวางแผนเพื่อปลูกสมุนไพร โดยดําเนินการพืชสมุนไพร

                  10 ชนิด ไดแก กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวง
                  เครือ และมะแวงตน ซึ่งโครงการดังกลาว เปนมาตรการหนึ่งที่สนับสนุนยุทธศาสตรที่  1 สงเสริม

                  ผลิตผลของสมุนไพรที่มีศักยภาพตามความตองการของตลาดทั้งในและตางประเทศ ของแผนแมบท

                  แหงชาติวาดวยการพัฒนาสมุนไพรไทยฉบับที่ 1 พ.ศ.2560-2564 ซึ่งมีเปาหมายในอีก 5 ป ขางหนา
                  ประเทศไทยจะเปนประเทศสงออกวัตถุดิบสมุนไพรคุณภาพและผลิตภัณฑสมุนไพรชั้นนําของภูมิภาค

                  อาเซียน รวมทั้งเพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของสมุนไพรไทยในตลาดทั้งในและตางประเทศอยาง
                  ตอเนื่องและเปนระบบ อันจะนํามาสูความมั่งคงทางสุขภาพและความยั่งยืน ของเศรษฐกิจไทยตอไป



                  1.2  วัตถุประสงค

                      เพื่อจัดทําแผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับปลูกพืชสมุนไพร ไดแก กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย

                  ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน สอดคลองตามแผน
                  แมบทแหงชาติวาดวยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2564





                  แผนที่ความเหมาะสมของที่ดินสําหรับการปลูกพืชสมุนไพร
                  กระเจี๊ยบแดง เกกฮวย ดีปลี บอระเพ็ด พญายอ เพชรสังฆาต มะระขี้นก มะลิ มะแวงเครือ และมะแวงตน   กองนโยบายและแผนการใชที่ดิน
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14