Page 95 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 95

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             65



                   ตารางที่ 3-14 สภาวะเศรษฐกิจและสังคม พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยต าแย อ าเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี (ต่อ)

                    สภาวะเศรษฐกิจ                                ต าบล                               ค่าเฉลี่ย

                      และสังคม        เมืองเดช    โพนงาม     กลาง     ท่าโพธิ์ศรี   นาเจริญ   สมสะอาด
                  5) รายได้ (บาท/คน/ปี)   69,802.29  71,142.19  63,346.38  80,587.01  60,088.14  59,939.29  67,484.23
                  6) ลักษณะการถือครอง

                    ที่ดิน
                     (1) หนังสือส าคัญใน    มี        มี          มี         มี        มี        มี
                      ที่ดิน (โฉนด,
                      นส.3, น.ส.3ก

                      ส.ป.ก. 4-01ฯ)
                      (2) ไม่มีเอกสารสิทธิ์    มี     มี          มี         มี        มี        -
                  7) เครื่องมือการเกษตร  รถไถเดินตาม  รถไถเดินตาม  รถไถเดินตาม  รถไถเดินตาม  รถไถเดินตาม  รถไถเดินตาม

                                     รถไถใหญ่   รถไถใหญ่    รถไถใหญ่   รถไถใหญ่   รถไถใหญ่   รถไถใหญ่
                                    เครื่องพ่นยา  เครื่องพ่นยา  เครื่องพ่นยา  เครื่องพ่นยา  เครื่องพ่นยา  เครื่องพ่นยา
                                    เครื่องสูบน้ า  เครื่องสูบน้ า  เครื่องสูบน้ า  เครื่องสูบน้ า  เครื่องสูบน้ า  เครื่องสูบน้ า
                                    เครื่องนวดข้าว เครื่องนวดข้าว เครื่องนวดข้าว เครื่องนวดข้าว เครื่องนวดข้าว เครื่องนวดข้าว

                   ที่มา: กรมการพัฒนาชุมชน (2562)

                           3) พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญ
                              จากผลการศึกษาสถานการณ์พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญ พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยต าแย อ าเภอเดชอุดม

                   จังหวัดอุบลราชธานี ปีการผลิต 2563 (กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน, 2563) ได้แก่ ข้าวเจ้านาปี ข้าวเหนียวนา
                   ปี มันส าปะหลัง ยางพารา มะม่วงหิมพานต์ ปาล์มน้ ามัน และยูคาลิปตัส โดยพิจารณาการปลูกพืชตาม

                   ระดับของความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน 3 ระดับ คือ น้อย (0-2 ตันต่อไร่ต่อปี) ปานกลาง
                   (2-5 ตันต่อไร่ต่อปี) และรุนแรง (5-15 ตันต่อไร่ต่อปี) ดังตารางที่ 3-15 มีรายละเอียดดังนี้

                              3.1) ข้าวเจ้านาปี (นาหว่าน) ปลูกในพื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดิน ระดับน้อย พันธุ์

                   ที่ใช้ปลูก คือ พันธุ์ขาวดอกมะลิ 105 ผลผลิตเฉลี่ย 349.60 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 4,223.16 บาท
                   ต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 349.61 บาทต่อไร่

                   อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.08
   90   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100