Page 92 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 92

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          62



                        จากผลการศึกษา จะเห็นว่า พื้นที่ส่วนใหญ่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายในระดับน้อย

               โดยมีปริมาณการสูญเสียดิน 0-2 ตันต่อไร่ต่อปี โดยครอบคลุมเนื้อที่หรือร้อยละ 78.82 ของพื้นที่ลุ่มน้ า พบ
               กระจายตัวทุกต าบลของลุ่มน้ าห้วยต าแย ได้แก่ ต าบลกลาง ต าบลท่าโพธิ์ศรี ต าบลเมืองเดช ต าบลโพนงาม

               ต าบลสมสะอาด และต าบลนาเจริญ อ าเภอเดชอุดม ซึ่งพื้นที่ดังกล่าวเป็นพื้นที่ที่มีความลาดชันอยู่ในช่วง

               0-2 เปอร์เช็นต์ มีลักษณะสภาพราบเรียบค่อนข้างราบเรียบ หรือลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ดินส่วนใหญ่เป็น
               ดินที่ลุ่ม มีน้ าท่วมขังในฤดูฝน การระบายน้ าของดินค่อนข้างเลวหรือเลว พื้นที่ค่อนข้างราบเรียบจะเกิดการ

               กัดเซาะภายในเมื่อเม็ดฝนตกกระทบเม็ดดิน เม็ดดินแตก กระจายน้ าละลายอนุภาคดิน แร่ธาตุต่าง ๆ และ
               อินทรียวัตถุ และเมื่อน้ าไหลลงสู่ดินล่างตามรอยแตกหรือ ช่องว่างในดิน ท าให้ดินบนสูญเสียธาตุอาหารพืช

               โครงสร้างของดินแตกกระจาย สูญเสียอินทรียวัตถุ ท าให้ดินชั้นบนเป็นกรด ส่วนดินชั้นล่างเกิดการสะสม

               อนุภาคดินเหนียวและทรายแป้ง ท าให้ดินแน่นยากต่อการหยั่งลึกของรากพืชและการไหลของน้ าในแนวดิ่ง
               ส่งผลให้เกิดปัญหาดินบนชื้นแฉะ หรือน้ าท่วมขัง พืชไม่โต หรือตายไป เมื่อพิจารณาประเภทการใช้ที่ดินเป็น

               ป่าผลัดใบสมบูรณ์ ไม้ละเมาะ และใช้ประโยชน์ในการปลูกข้าว ยางพารา ปาล์มน้ ามัน และยูคาลิปตัส ซึ่งไม่
               ควรเพิกเฉยต่อการใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า และมีการปรับปรุงบ ารุงดินที่เหมาะสม ซึ่งหากละเลย

               หรือมีการจัดที่ดินที่ไม่เหมาะสม และถูกต้องตามหลักวิชาการอาจจะส่งผลกระทบรุนแรงขึ้น ซึ่งเกิดปัญหา

               การสูญเสียดิน ปริมาณและคุณภาพผลผลิต และส่งผลกระทบต่อต้นทุนการผลิต การจัดการดิน น้ า ปุ๋ย
               ท าให้เกษตรกรในพื้นที่มีค่าใช้จ่ายที่เพิ่มสูงขึ้นตามไปด้วย มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าที่ใช้ คือ การไถพรวนดิน

               และปลูกพืชตามแนวระดับ การปรับรูปแปลงนา การจัดการน้ าร่วมกับการปรับปรุงบ ารุงดินเพื่อเพิ่มความ

               อุดมสมบูรณ์ของดิน
                        ส่วนพื้นที่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายในระดับปานกลาง และรุนแรง โดยมีปริมาณการ

               สูญเสียดิน 2-15 ตันต่อไร่ต่อปี โดยครอบคลุมเนื้อที่ หรือร้อยละรวม 6.08 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า แบ่งเป็นระดับ
               ปานกลาง และระดับรุนแรง มีเนื้อที่ร้อยละ 4.10 และ 1.98 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า ตามล าดับ โดยพบกระจายตัว

               อยู่ในต าบลท่าโพธิ์ศรี ต าบลเมืองเดช และต าบลโพนงาม ฝั่งทิศตะวันออกของเนื้อที่ลุ่มน้ า ซึ่งพื้นที่ดังกล่าว

               เป็นพื้นที่ที่มีความลาดชัน 2-12 เปอร์เซ็นต์ มีลักษณะค่อนข้างราบเรียบ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย และ
               ลูกคลื่นลอนลาดบางส่วน เมื่อพิจารณาประเภทการใช้ที่ดินเป็นป่าไม้ผลัดใบสมบูรณ์ และมีการใช้ประโยชน์

               ที่ดินปลูกมันส าปะหลัง ยางพารา มะม่วงหิมพานต์ และพืชสวน ซึ่งหากมีปัญหาการชะล้างพังทลายควรได้
               การป้องกันเพื่อไม่ให้เกิดความเสียหายต่อการผลิตและผลผลิตของเกษตรกร อีกทั้งลดต้นทุนการผลิตที่สูญ

               หายไปกับการชะล้างของผิวหน้าดินที่อาจเกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ควรมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า

               เพื่อป้องกันน้ าไหลบ่าและเก็บกักตะกอนดิน การไถพรวนตามแนวระดับ ไม่ควรไถพรวนมากเกินความ
               จ าเป็น การท าคันดินร่วมกับการปลูกพืชคลุมดินบนคันดิน คันดินเบนน้ า คันดิน เก็บกักน้ า คันดินฐานกว้าง

               คันดินฐานแคบ การปลูกพืชคลุมดินบนคันดิน และทางล าเลียงในไร่นา ส่วนในพื้นที่ลอนลาดซึ่งมีความลาด

               เทเพิ่มขึ้นจ าเป็นต้องมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เข้มข้น เช่น ขั้นบันไดดินท าคันดินร่วมกับการปลูก
               พืชคลุมดิน คันดินเบนน้ า คันดินฐานกว้าง คันดินฐานแคบ การยกร่องตามแนวระดับ การท าร่องน้ า
   87   88   89   90   91   92   93   94   95   96   97