Page 96 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 96

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          66



               ตารางที่ 3-15  ต้นทุนการผลิต ผลผลิต และผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดของการปลูกพืชในพื้นที่มี

                            ระดับการชะล้างพังทลายต่างกัน พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยต าแย อ าเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี

                                                     ราคา      มูลค่า    ต้นทุนการ ผลตอบแทนเหนือ
                           ระดับการชะล้าง ผลผลิตเฉลี่ย                                             B/C
                  พืช                               ผลผลิต     ผลผลิต   ผลิตทั้งหมด   ต้นทุนทั้งหมด
                           พังทลายของดิน*  (กก./ไร่)                                               ratio
                                                   (บาท/กก.)  (บาท/กก.)   (บาท/ไร่)   (บาท/ไร่)

             ข้าวเจ้านาปี   น้อย            349.60     13.08  4,572.77     4,223.16      349.61     1.08
             (นาหว่าน)
             ข้าวเหนียวนาปี  น้อย           361.76     14.92  5,397.45     4,448.06      949.39     1.21
             (นาหว่าน)
             มันส าปะหลัง   ปานกลาง       5,955.06      2.15  12,803.38    8,076.54     4,726.84    1.59

                           รุนแรง         3,709.28      2.15  7,974.95     8,287.67      -312.72    0.96

             ยางพารา       น้อย             418.11     17.97  7,513.44    12,484.41    -4,970.97    0.60
             ปาล์มน้ ามัน   น้อย          1,274.51      3.03  3,861.77     6,354.77    -2,493.00    0.61
             มะม่วงหิมพานต์  ปานกลาง        448.33     37.14  16,650.98    8,410.74     8,240.24    1.98
             ยูคาลิปตัส    น้อย           5,723.81      1.00  5,723.81     4,244.95     1,478.86    1.35
               ที่มา : กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน (2563)

               หมายเหตุ ระดับการชะล้างพังทลายของดิน 3 ระดับ และค่าการสูญเสียดิน คือ น้อย (0-2 ตัน/ไร่/ปี)ปานกลาง

                         (2-5 ตัน/ไร่/ปี) และรุนแรง (5-15 ตัน/ไร่/ปี)

                           3.2) ข้าวเหนียวนาปี (นาหว่าน) ปลูกในพื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดินระดับน้อย

               พันธุ์ที่ใช้ปลูก คือ พันธุ์เหนียวอุบล 2 และ กข 6 ผลผลิตเฉลี่ย 361.76 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด
               4,448.06 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด

               949.39 บาทต่อไร่ และมีอัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.21

                           3.3) มันส าปะหลัง ปลูกในพื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดิน 2 ระดับ คือ ระดับ
               ปานกลาง และระดับรุนแรง พันธุ์ที่ใช้ปลูก คือ พันธุ์ระยอง 72 พื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดิน

               ระดับปานกลาง ผลผลิตเฉลี่ย 5,955.06 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 8,076.54 บาทต่อไร่ ผลตอบแทน
               เหนือต้นทุนทั้งหมด 4,726.84 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.59 พื้นที่ดินที่มีการ

               ชะล้างพังทลายของดินระดับรุนแรง ผลผลิตเฉลี่ย 3,709.28 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 8,287.67

               บาทต่อไร่ ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดขาดทุน 312.72 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุน
               ทั้งหมด 0.96 เมื่อพิจารณาในภาพรวมของผลผลิต ต้นทุน และผลตอบแทนของการผลิตมันส าปะหลัง

               พื้นที่ดินแต่ละระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดิน พบว่า ต้นทุนการผลิตมีแนวโน้มที่เพิ่มขึ้น
               ตามระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินที่เพิ่มขึ้น ปริมาณผลผลิตมีแนวโน้มลดลงเมื่อระดับ

               ความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มขึ้น ส่งผลให้ผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดมีแนวโน้ม

               ลดลง เมื่อระดับความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินเพิ่มสูงขึ้น
   91   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101