Page 100 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 100

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          70



                           ทั้งนี้ จะเห็นว่า เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจในวิธีการรักษาและป้องกันไม่ให้เกิดการชะ

               ล้างพังทลายของดินในแต่ละวิธีการมากน้อยแตกต่างกัน โดย 3 อันดับแรกวิธีการรักษาและป้องกันการ
               ชะล้างพังทลายของดินที่เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจมากที่สุด คือ วิธีการท าฝายน้ าล้นหรือคันชะลอ

               ความเร็วของน้ า การท าคันดินขวางทางลาดเท และการปลูกหญ้าแฝกขวางทางลาดชัน (ตารางที่ 3-17)

               ตารางที่ 3-17  ความรู้และความเข้าใจ ของเกษตรกรเกี่ยวกับวิธีการรักษาและป้องกันการชะล้างพังทลาย

                            ของดิน พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยต าแย อ าเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี ปีการผลิต 2563

                                                                            ร้อยละ          ล าดับความรู้
                               วิธีการรักษาและป้องกัน
                                                                     ใช่    ไม่ใช่  ไม่แน่ใจ   ความเข้าใจ
                1) การท าฝายน้ าล้นหรือคันชะลอความเร็วของน้ า       98.67  1.33           -      1

                2) การท าคันดินขวางทางลาดเท                         97.33  1.33           -      2
                3) การปลูกหญ้าแฝกขวางทางลาดชัน                      97.33  2.67           -      3

                4) การใช้วัสดุคลุมดิน เช่นเศษซากพืช พลาสติก กระดาษ   96.00  2.67       1.33      4
                5) การใช้วัสดุต่าง ๆ อย่างง่าย เช่นท่อนไม้ หิน กระสอบ   96.00  2.67    1.33      5

                6) การถางป่า ตัดไม้ท าลายป่า การขุดถนนท าให้เกิด    94.67  4.00        1.33      6
                  บรรจุทราย อิฐ และ ก่อสร้างขวางทางระบายน้ า
                7) การยกร่องและปลูกพืชท าร่องน้ าไปตามแนวระดับ      90.67  6.67        2.66      7
                    การชะล้างพังทลายของดิน
                  เพื่อชะลอความเร็วของน้ าไม่ให้กัดเซาะ
                8) การปลูกพืชคลุมดิน                                89.33  8.00        2.67      8
                9) การปลูกพืชหมุนเวียน/ปลูกพืชแซม/ปลูกพืชเหลื่อมฤดู   85.33  9.33      5.34      9

                10) การปลูกพืชแบบขั้นบันได (ปรับพื้นที่เป็นขั้น ๆ)   85.33  10.67      4.00     10
                11) การปลูกพืชสลับเป็นแถบ                           84.00  8.00        8.00     11
               ที่มา: กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน (2563)


                           เมื่อพิจารณาข้อมูลทัศนคติของเกษตรกรเกี่ยวกับประเด็นที่เชื่อมโยงกับสภาพปัญหาการชะ
               ล้างพังทลายของดิน 3 ด้าน (ตารางที่ 3-18) ดังนี้

                            1) การย้ายถิ่นฐาน จากประเด็นทัศนคติเกี่ยวกับ “กรณีหากเกิดเหตุการณ์ดินถล่มในพื้นที่

               เสี่ยงภัย แล้วภาครัฐต้องการให้เกษตรกรในพื้นที่อพยพออกจากพื้นที่โดยจะจัดหาสถานที่ที่เหมาะสมให้ ซึ่ง
               ส่วนใหญ่เกษตรกรร้อยละ 58.67 มีความต้องการย้ายออกจากพื้นที่ไปอยู่ในสถานที่ที่รัฐจัดให้ ร้อยละ

               33.33 ยังมีความไม่แน่ใจ และที่เหลืออีกร้อยละ 8.00 ไม่มีความต้องการย้ายออกจากพื้นที่

                            2) ความช่วยเหลือจากหน่วยงานภาครัฐในการจัดท าเขตระบบอนุรักษ์ดินและน้ า โดย
               เกษตรกรในพื้นที่ส่วนใหญ่เกือบทั้งหมดเห็นด้วยที่จะมีหน่วยงานรัฐมาจัดท าเขตระบบอนุรักษ์ดินและน้ าใน

               พื้นที่

                            3) ปัญหาด้านการเกษตร พบว่า เกษตรกรส่วนใหญ่ร้อยละ 74.67 มีปัญหาด้านการเกษตร
               ซึ่งปัญหาที่พบ ได้แก่ น้ าท่วม ฝนแล้ง/ฝนทิ้งช่วง พื้นที่การเกษตรถูกน้ ากัดเซาะ ขาดแคลนแหล่งน้ าเพื่อ

               การเกษตร ศัตรูพืชรบกวน ขาดแคลนเงินทุน และสภาพดินเสื่อม
   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105