Page 97 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 97

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             67



                              3.4) ยางพารา (ยางก้อนถ้วย) ปลูกในพื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดิน ระดับน้อย

                   พันธุ์ที่ใช้ปลูก คือ พันธุ์ RRIM 600 ผลผลิตเฉลี่ย 418.11 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 12,484.41
                   บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดขาดทุน

                   4,970.97 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 0.60

                              3.5) ปาล์มน้ ามัน ปลูกในพื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดิน ระดับน้อย พันธุ์ที่ใช้ปลูก
                   คือ เทเนอรา (TENERA) และลูกผสมสุราษฎร์ธานี 1 ผลผลิตเฉลี่ย 1,274.51 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด

                   6,354.77 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด
                   ขาดทุน 2,493.00 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 0.61

                              3.6) มะม่วงหิมพานต์ ปลูกในพื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดิน ระดับปานกลาง

                   พันธุ์ที่ใช้ปลูก คือ พันธุ์ศรีสะเกษ 60-1 และมาบุญครอง ผลผลิตเฉลี่ย 448.33 กิโลกรัมต่อไร่
                   ต้นทุนทั้งหมด 8,410.74 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า มีผลตอบแทน

                   เหนือต้นทุนทั้งหมด 8,240.24 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.98
                              3.7) ยูคาลิปตัส ปลูกในพื้นที่ดินที่มีการชะล้างพังทลายของดิน ระดับน้อย ผลผลิตเฉลี่ย

                   5,723.81 กิโลกรัมต่อไร่ ต้นทุนทั้งหมด 4,244.95 บาทต่อไร่ เมื่อพิจารณาต้นทุนและผลตอบแทน พบว่า

                   มีผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมด 1,478.86 บาทต่อไร่ อัตราส่วนผลตอบแทนต่อต้นทุนทั้งหมด 1.35
                              เมื่อพิจารณาผลจากการเกิดชะล้างพังทลายของดินในพื้นที่เพาะปลูกพืช โดยเฉพาะผลผลิต

                   ต้นทุนการผลิต และผลตอบแทนของการปลูกพืชในพื้นที่มีระดับการชะล้างพังทลายต่างกัน จะเห็นว่า

                   ต้นทุนการผลิตพืชโดยเฉพาะมันส าปะหลังมีแนวโน้มสูงขึ้นเมื่อท าการปลูกในพื้นที่มีระดับความรุนแรงของ
                   การชะล้างพังทลายของดินที่เพิ่มขึ้น โดยต้นทุนทั้งหมดที่เพิ่มขึ้นนั้น อาจเป็นผลจากการเปลี่ยนแปลง

                   ต้นทุนผันแปรในการผลิต เช่น ค่าจ้างแรงงาน ค่าพันธุ์ ค่าปุ๋ย นอกจากนี้พบว่า ผลผลิตของมันส าปะหลังมี
                   ปริมาณลดลงตามระดับความรุนแรงที่เพิ่มขึ้นของการชะล้างพังทลาย ซึ่งเมื่อปริมาณผลผลิตลดลงส่งผลให้

                   แนวโน้มของผลตอบแทนเหนือต้นทุนทั้งหมดลดลง ทั้งนี้ จากผลการศึกษาจะเห็นว่า พืชเศรษฐกิจที่ส าคัญ

                   ได้แก่ ข้าวเหนียวนาปี-นาหว่าน ข้าวเจ้านาปี-นาหว่าน มะม่วงหิมพานต์ และยูคาลิปตัส ให้ผลตอบแทน
                   คุ้มค่าการลงทุน โดยมะม่วงหิมพานต์ ให้ผลตอบแทนคุ้มค่ากว่าการปลูกพืชอื่น ส าหรับยางพารา

                   และปาล์มน้ ามันให้ผลตอบแทนการลงทุนขาดทุน เนื่องจากราคาผลผลิตตกต่ าซึ่งเป็นไปตามกลไกตลาด
                           4) ความรู้ ความเข้าใจ ด้านการอนุรักษ์ดินและน้ า

                              จากผลการสัมภาษณ์เกษตรกรกลุ่มตัวอย่างเกี่ยวกับความรู้ ความเข้าใจด้านการอนุรักษ์ดิน

                   และน้ าในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยต าแย โดยมุ่งเน้นข้อมูลเกี่ยวกับ 1) ความรู้ ความเข้าใจด้านการชะล้างพังทลาย
                   ของดิน 2) ผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อผลผลิต 3) แนวทางการป้องกันและแก้ไขปัญหาการชะล้างพังทลายของ

                   ดิน และทัศนคติต่อการป้องกันสภาพปัญหา (ตารางที่ 3-16)

                            4.1) ความรู้ ความเข้าใจ การชะล้างพังทลายของดิน เกษตรกรให้ข้อมูลถึงการชะล้างพังทลาย
                   ของดินในพื้นที่เพาะปลูกพืช และที่อยู่อาศัยของเกษตรกร พบว่า เกษตรกร ร้อยละ 53.33 ของเกษตรกร

                   ทั้งหมด พื้นที่มีน้ าไหลบ่าพัดพาหน้าดินโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน ร้อยละ 50.67 มีสภาพหน้าดินเป็นร่องหรือ
   92   93   94   95   96   97   98   99   100   101   102