Page 90 - แผนบริหารจัดการโครงการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำโดมใหญ่ อำเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี
P. 90

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          60



                     1) ความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินระดับน้อย

                        พื้นที่ความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในระดับน้อย ซึ่งมีปริมาณการสูญเสียดิน 0-2
               ตันต่อไร่ต่อปี โดยมีครอบคลุมเนื้อที่ประมาณ 112,734 ไร่ หรือร้อยละ 93.92 ของเนื้อที่ลุ่มน้ า พบกระจาย

               ตัวทุกต าบลของลุ่มน้ าห้วยต าแย ได้แก่ ต าบลกลาง ต าบลท่าโพธิ์ศรี ต าบลเมืองเดช ต าบลโพนงาม

               ต าบลสมสะอาด และต าบลนาเจริญ อ าเภอเดชอุดม ซึ่งบริเวณที่มีสูญเสียดินเล็กน้อยส่วนใหญ่มีสภาพพื้นที่
               เป็นลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงพื้นที่ราบเรียบคือค่อนข้างราบเรียบ การใช้ที่ดินเป็นป่าผลัดใบสมบูรณ์

               ไม้ละเมาะ และใช้ประโยชน์ในการปลูกข้าว ยางพารา ปาล์มน้ ามัน และยูคาลิปตัส แม้ในพื้นที่นี้ซึ่งมี
               สถานภาพความรุนแรงในระดับน้อย แต่ควรได้รับการจัดการด้วยมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าที่เหมาะสม

               เพื่อป้องกันการสูญเสียดินเพื่อใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม (ภาพที่ 3-12)






















               ภาพที่ 3-12  สภาพพื้นที่ที่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินระดับน้อย พื้นที่ลุ่มน้ าห้วยต าแย

                            อ าเภอเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี

                     2) ความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินระดับปานกลาง

                        พื้นที่มีความรุนแรงของการชะล้างพังทลายของดินในระดับปานกลาง ซึ่งมีปริมาณการสูญเสียดิน
               2-5 ตันต่อไร่ต่อปี โดยมีเนื้อที่ครอบคลุมประมาณ 4,925 ไร่ หรือร้อยละ 4.10 ของพื้นที่ลุ่มน้ า พบกระจาย

               ตัวอยู่ในต าบลท่าโพธิ์ศรี ต าบลเมืองเดช และต าบลโพนงาม อ าเภอเดชอุดม ฝั่งทิศตะวันออกของเนื้อที่

               ลุ่มน้ า สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นพื้นที่ลูกคลื่นลอนชัน การใช้ที่ดินเป็นป่าผลัดใบสมบูรณ์ และ
               ใช้ประโยชน์ในการปลูกมันส าปะหลัง ยางพารา และมะม่วงหิมพานต์ พื้นที่นี้ควรมีการใช้ประโยชน์ที่ดิน

               อย่างระมัดระวัง โดยการปลูกพืชตามแนวระดับหรือขวางความลาดเท และควรมีการปรับปรุงบ ารุงดินอย่าง

               ต่อเนื่อง (ภาพที่ 3-13)
   85   86   87   88   89   90   91   92   93   94   95