Page 103 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 103

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             87


                              5) เขตท าการเกษตรบนพื้นที่ดินเค็มความอุดมสมบูรณ์ต่ า มีเนื้อที่ 50,422 ไร่ หรือร้อยละ

                   47.03 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า เขตพื้นที่นี้เพาะปลูกโดยอาศัยน้ าฝน ดินเป็นดินเค็ม ความอุดม
                   สมบูรณ์ต่ า สภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ พบบริเวณตอนกลางของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า

                   จากต้นน้ าจนถึงปลายน้ า โดยส่วนใหญ่แล้วเป็นพื้นที่ท านา

                                5.1) เขตดินเค็มความอุดมสมบูรณ์ต่ าท านา (2312A) มีเนื้อที่ 49,692 ไร่ หรือร้อยละ
                   46.35 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า พบบริเวณตอนกลางของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ าจากต้นน้ าจนถึง

                   ปลายน้ า ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า พบคราบเกลือบนผิวดิน
                                ข้อเสนอแนะ ในพื้นที่ดินเค็มน้อยและเค็มปานกลาง จัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ าโดยการ

                   ปรับรูปแปลงนาแบบที่ 1 หรือ 2 ท าทางระบายน้ าเพื่อล้างเกลือออกจากแปลงและปรับระดับดินให้

                   เสมอกัน เมื่อฝนตก ขังน้ าในนาข้าวให้น้ าชะล้างเกลือที่ผิวดินซึมลงไปยังดินชั้นล่าง แล้วระบายน้ าเค็มออก
                   จากนา ปลูกโสนอัฟริกันเป็นพืชปุ๋ยสดปรับปรุงบ ารุงดิน ใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก แกลบดิบ ฟางข้าว ปรับปรุง

                   ดินให้โปร่งร่วนซุย ใช้พันธุ์ข้าวทนเค็ม เช่น ขาวดอกมะลิ 105 กข.6 กข.15 เหนียวสันป่าตอง ขาวตาแห้ง
                   ท านาด าโดยใช้ต้นกล้าอายุ 30-35 วัน ในการปักด า เพื่อให้อัตราการรอดตายสูงขึ้น ใช้กล้า 6-8 ต้นต่อจับ

                   ระยะปลูก 20 X 20 เซนติเมตร เพื่อเพิ่มจ านวนต้นที่รอดตาย ใส่ปุ๋ยเคมี 16-16-8 อัตรา 30 กิโลกรัม/ไร่

                   โดยแบ่งใส่ 3 ครั้ง ครั้งแรกหลังปักด า 7-10 วัน ครั้งที่ 2 ใส่ระยะที่ข้าวแตกกอสูงสุด ครั้งที่ 3 ใส่ระยะข้าว
                   ก าลังตั้งท้อง ไม่ควรใส่ปุ๋ยเคมีรองพื้น ฉีดพ่นปุ๋ยน้ า พด.2 อัตรา 20 ลิตร/ไร่ แบ่งใส่ 4 ครั้ง คือช่วงเตรียม

                   ดิน หลังปักด า 30 50 และ 60 วัน หลังเก็บเกี่ยวแล้ว ควรทิ้งฟางไว้ในนาข้าวเพื่อให้ฟางคลุมดินไม่ให้น้ า

                   ระเหยพาเกลือขึ้นมาอีก ไม่ควรปล่อยให้หน้าดินว่าง หลังเกี่ยวข้าวและมีน้ าเพียงพอสามารถปลูกพืชทน
                   เค็มอื่น ๆ ได้ ถ้าสามารถให้น้ าพืชโดยใช้ระบบน้ าหยดได้

                                5.2) เขตดินเค็มความอุดมสมบูรณ์ต่ าปลูกพืชไร่ (2322A) มีเนื้อที่ 258 ไร่ หรือร้อยละ
                   0.24 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า พบบริเวณด้านตะวันตกของพื้นที่ ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า บาง

                   แห่งพบคราบเกลือบนผิวดิน

                                ข้อเสนอแนะ ใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก และปุ๋ยพืชสด (โสนอัฟริกัน) ในการปรับปรุงบ ารุงดิน
                   เลือกชนิดและพันธุ์ของพืชที่สามารถทนเค็มได้ หรือปรับเปลี่ยนมาปลูกหญ้ารูซี่ และหญ้ากินนีทนเค็มเพื่อ

                   เลี้ยงสัตว์หรือตัดจ าหน่าย ให้น้ าด้วยระบบน้ าหยด เจาะบ่อบาดาลสูบน้ าจืดขึ้นมาใช้เพื่อช่วยป้องกัน และ
                   ควบคุมการแพร่กระจายของดินเค็มเมื่อเก็บผลผลิต เศษซากพืชให้ทิ้งคลุมดินไว้ในพื้นที่

                                5.3) เขตดินเค็มความอุดมสมบูรณ์ต่ าปลูกไม้ผล/ไม้ยืนต้น (2332A) มีเนื้อที่ 472 ไร่ หรือ

                   ร้อยละ 0.44 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า พบกระจายทั่วไปบริเวณตอนกลางของพื้นที่ ดินมีความอุดม
                   สมบูรณ์ต่ า พบคราบเกลือบนผิวดิน

                                ข้อเสนอแนะ ใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก และปุ๋ยพืชสด (โสนอัฟริกัน) ในการปรับปรุงบ ารุงดิน

                   เลือกชนิดและพันธุ์ของพืชที่สามารถทนเค็มได้ ปลูกไม้โตเร็วบางชนิดเพื่อดูดใช้น้ าบนพื้นที่รับน้ า เช่น
                   ยูคาลิปตัส หรือเลือกปลูกมะขามเทศ (พืชเศรษฐกิจตัวใหม่ของอ าเภอโนนไทย) ให้น้ าด้วยระบบน้ าหยด
   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107   108