Page 106 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 106

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          90





                           มีเนื้อที่ 9,727 ไร่ หรือร้อยละ 9.07 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า ซึ่งมีสภาพการใช้ที่ดิน

               เป็นตัวเมือง และย่านการค้า หมู่บ้าน สถานที่ราชการและสถาบันต่าง ๆ สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ ลานตาก
               และแหล่งรับซื้อสินค้าเกษตร และเส้นทางคมนาคม ซึ่งชุมชนส่วนใหญ่มีลักษณะเป็นสวนผสมปะปนอยู่กับ

               ที่อยู่อาศัยหรือหมู่บ้าน ไม้ผลและไม้ยืนต้นที่ส าคัญ ได้แก่ มะม่วง มะขาม ล าไย ขนุน และพืชสวนผสม
               อื่น ๆ เป็นต้น

                           ข้อเสนอแนะ ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานให้ดี และมีกระจายอย่างทั่วถึง จัดการของเสียจาก

               ชุมชน ทั้งน้ าทิ้ง และขยะ ให้ได้รับการบ าบัดก่อนปล่อยสู่สิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะของเสียจากโรงงาน
               อุตสาหกรรม และลานตาก ซึ่งจะมีมลพิษทางอาการด้วย ต้องควบคุมให้ดี จัดหาแหล่งน้ าให้เพียงพอแก่

               การอุปโภคและบริโภค




                           มีเนื้อที่ 3,248 ไร่ หรือร้อยละ 3.03 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า แบ่งได้ดังนี้

                           1) แหล่งน้ าธรรมชาติ (510) มีเนื้อที่ 1,299 ไร่ หรือร้อยละ 1.21 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดิน

               ลุ่มน้ า ซึ่งได้แก่ แม่น้ า ล าห้วย ล าคลอง หนอน บึง และทะเลสาบต่าง ๆ
                          ข้อเสนอแนะ ดูแลรักษาแหล่งน้ าไม่ให้เสื่อมโทรมทั้งด้านคุณภาพของน้ า ปริมาณการกักเก็บน้ า

               และป้องกันไม่ให้มีการบุกรุก/รุกล้ าแหล่งน้ าธรรมชาติ ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนรวม ชุมชนดูแลไม่ให้มีวัชพืชหรือ
               สิ่งอื่นใดมาท าให้แหล่งน้ าตื้นเขิน ควบคุมไม่ให้ของเสียจากชุมชน ที่อยู่อาศัย โรงงานอุตสาหกรรม

               และจากภาคเกษตรปนเปื้อนลงในแหล่งน้ า ประชาชนต้องมีจิตส านึกที่ดีร่วมกันในการดูแลรักษาแหล่งน้ า

                           2) แหล่งน้ าที่มนุษย์สร้างขึ้น (520) มีเนื้อที่ 1,949 ไร่ หรือร้อยละ 1.82 ของพื้นที่เขตพัฒนา
               ที่ดินลุ่มน้ า ได้แก่ อ่างเก็บน้ า บ่อน้ าในไร่นา และคลองชลประทาน เป็นต้น

                          ข้อเสนอแนะ ดูแลรักษาแหล่งน้ าไม่ให้เสื่อมโทรมทั้งด้านคุณภาพของน้ า ปริมาณการกักเก็บน้ า

               และป้องกันไม่ให้มีการบุกรุก/รุกล้ าแหล่งน้ าธรรมชาติ ซึ่งเป็นพื้นที่ส่วนรวม ชุมชนดูแลไม่ให้มีวัชพืชหรือ
               สิ่งอื่นใดมาท าให้แหล่งน้ าตื้นเขิน ควบคุมไม่ให้ของเสียจากชุมชน ที่อยู่อาศัย โรงงานอุตสาหกรรม และ

               จากภาคเกษตรปนเปื้อนลงในแหล่งน้ า ประชาชนต้องมีจิตส านึกที่ดีร่วมกันในการดูแลรักษาแหล่งน้ า
               เพิ่มจ านวน และการกระจายตัวของแหล่งน้ าขนาดเล็กให้มีจ านวน และการกระจายมากขึ้น ขยายเขต

               ชลประทาน ท าคลองไส้ไก่กระจายน้ าออกสู่พื้นที่เกษตร และจัดท าบ่อพวง เพื่อป้องกันบรรเทาปัญหา

               น้ าแล้ง น้ าหลาก
   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110   111