Page 105 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 105

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             89


                                ข้อเสนอแนะ ใช้อินทรียวัตถุพวกปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยพืชสดหรือปรับปรุงบ ารุงดินด้วย

                   ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ในอัตราที่เหมาะสม เร่งพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็ก ให้กระจายไปตามพื้นที่ และ
                   เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ าให้คุ้มค่า พัฒนาการผลิต ใช้พันธุ์พืชที่ดีมีคุณภาพที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่

                   และตรงกับความต้องการของตลาด สนับสนุนการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การใช้ปุ๋ยพืชสด และผลิตภัณฑ์

                   เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดินปรับปรุงบ ารุงดิน ท าคันดินเบนน้ า ร่องระบายน้ าหรือทางระบายน้ า
                   พร้อมปลูกหญ้าแฝกเพื่อชะลอการไหลของน้ า และลดการสูญเสียหน้าดิน ท าบ่อดักตะกอน หรือปรับรูป

                   แปลงนาเพื่อท าการเกษตรแบบผสมผสาน หรืออาจปรับเปลี่ยนไปเป็นพืชไร่ชนิดอื่น เช่น แตงโม เนื่องจาก
                   เป็นพืชที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า และเป็นที่ต้องการของตลาด

                                6.4) เขตดินเค็มความอุดมสมบูรณ์ต่ าปลูกพืชไร่มีการสูญเสียหน้าดิน 2-5 ตัน/ไร่/ปี

                   (2322B) มีเนื้อที่ 542 ไร่ หรือร้อยละ 0.51 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า พื้นที่ค่อนข้างราบเรียบถึง
                   ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย มีการชะล้างพังทลายของดิน สูญเสียหน้าดินอย่างน้อย 2-5 ตัน/ไร่/ปี ความอุดม

                   สมบูรณ์ปานกลาง เพาะปลูกโดยอาศัยน้ าฝน การใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน ส่วนใหญ่ปลูกพืชไร่ เช่น
                   มันส าปะหลัง และข้าวโพดเลี้ยงสัตว์

                                ข้อเสนอแนะ สนับสนุนการท าการเกษตรแบบผสมผสาน เพื่อลดความเสี่ยงของเกษตรกร

                   หรือส่งเสริมให้ปลูกพืชใช้น้ าน้อย/พืชทนแล้ง เลือกชนิดและพันธุ์ของพืชที่ดีมีคุณภาพสามารถทนเค็มได้
                   หรือปรับเปลี่ยนมาปลูกหญ้ารูซี่ และหญ้ากินนีทนเค็มเพื่อเลี้ยงสัตว์หรือตัดจ าหน่าย ใช้ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก

                   และปุ๋ยพืชสด (โสนอัฟริกัน) และผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดิน ในการปรับปรุงบ ารุงดิน

                   ใช้เศษซากพืชหรือวัสดุอื่นคลุมดินเพื่อป้องกันการระเหยของน้ าในดิน ซึ่งจะช่วยลดการพาเกลือขึ้นมาสู่
                   ผิวหน้าดิน ให้น้ าด้วยระบบน้ าหยด เจาะบ่อบาดาลสูบน้ าจืดขึ้นมาใช้เพื่อช่วยป้องกัน และควบคุม

                   การแพร่กระจายของดินเค็ม ในพื้นที่ลาดชันท าคันดินเบนน้ า ร่องระบายน้ า ร่วมกับการปลูกหญ้าแฝก
                   เพื่อดักตะกอนและชะลอการไหลของน้ า





                              มีเนื้อที่ 2,824 ไร่ หรือร้อยละ 2.63 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า เป็นเขตที่ใช้ประโยชน์ใน
                   การเลี้ยงสัตว์ มีทั้งการใช้ที่ดินเป็นโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ และทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์

                              ข้อเสนอแนะ ควบคุมกลิ่นมูลสัตว์ไม่ให้ไปรบกวนพื้นที่อยู่อาศัย อาจจะใช้เทคโนโลยีชีวภาพ

                   ของกรมฯ เข้ามาร่วมด้วย ควบคุมดูแลไม่ให้สัตว์เลี้ยงไปท าลายพืชผลของเกษตรกร




                              มีเนื้อที่ 338 ไร่ หรือร้อยละ 0.32 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า ส่วนใหญ่เป็นสถานที่

                   เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าขนาดเล็กใกล้แหล่งน้ าธรรมชาติ
                              ข้อเสนอแนะ ควบคุมมลพิษทางน้ า โดยมีนโยบายให้ผู้ก่อมลพิษต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบ

                   ในการด าเนินการแก้ไขปัญหาและเสียค่าใช้จ่ายในการแก้ปัญหาด้วย
   100   101   102   103   104   105   106   107   108   109   110