Page 101 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 101

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             85


                   คุณภาพที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และตรงกับความต้องการของตลาด ปรับปรุงบ ารุงดินด้วยปุ๋ยเคมี

                   ร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ในอัตราที่เหมาะสม สนับสนุนการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การใช้ปุ๋ยพืชสด และผลิตภัณฑ์
                   เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดินทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี และสารเคมีป้องกันก าจัดศัตรูพืช

                                3.2) เขตดินแน่นทึบปลูกพืชไร่ (2222A) มีเนื้อที่ 57 ไร่ หรือร้อยละ 0.05 ของพื้นที่เขต

                   พัฒนาที่ดินลุ่มน้ า พื้นที่ค่อนข้างราบเรียบ ความอุดมสมบูรณ์ต่ า ดินค่อนข้างเหนียวและแน่นทึบเพราะ
                   ได้รับอิทธิพลมาจากวัตถุต้นก าเนิดดิน เพาะปลูกโดยอาศัยน้ าฝน การใช้ประโยชน์ปัจจุบันปลูกพืชไร่

                                ข้อเสนอแนะ ใช้อินทรียวัตถุ พวกปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยพืชสด ปรับปรุงบ ารุงดิน เพื่อให้
                   ดินร่วนซุยขึ้น มีช่องว่างให้น้ าและอากาศไปเป็นประโยชน์กับพืชได้มากขึ้น เร่งพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็ก

                   ให้กระจายไปตามพื้นที่ในเขตนี้และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ าให้คุ้มค่า พัฒนาการผลิต เลือกชนิดพืชที่ปลูก

                   และพันธุ์ที่ชอบดินที่มีเนื้อดินเหนียว แน่นทึบ ทนกับการขังน้ าในช่วงระยะเวลาหนึ่ง และตรงกับความ
                   ต้องการของตลาด ปรับปรุงบ ารุงดินด้วยปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ในอัตราที่เหมาะสม สนับสนุนการใช้

                   ปุ๋ยอินทรีย์ การใช้ปุ๋ยพืชสด และผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดินทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี
                   และสารเคมีป้องกันก าจัดศัตรูพืช

                                3.3) เขตดินแน่นทึบปลูกไม้ผล/ไม้ยืนต้น (2232A) มีเนื้อที่ 24 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของ

                   พื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า พื้นที่ค่อนข้างราบเรียบ ความอุดมสมบูรณ์ต่ า ดินค่อนข้างเหนียวและแน่นทึบ
                   เพราะได้รับอิทธิพลมาจากวัตถุต้นก าเนิดดิน เพาะปลูกโดยอาศัยน้ าฝน การใช้ประโยชน์ปัจจุบันปลูก

                   ไม้ผลไม้/ยืนต้น

                                ข้อเสนอแนะ ใช้อินทรียวัตถุ พวกปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยพืชสด ปรับปรุงบ ารุงดิน เพื่อให้
                   ดินร่วนซุยขึ้น มีช่องว่างให้น้ าและอากาศไปเป็นประโยชน์กับพืชได้มากขึ้น เร่งพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็ก

                   ให้กระจายไปตามพื้นที่ในเขตนี้และเพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ าให้คุ้มค่า พัฒนาการผลิต เลือกชนิดดี
                   มีคุณภาพและพันธุ์ของพืชที่ปลูกให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และตรงกับความต้องการของตลาด ปรับปรุง

                   บ ารุงดินด้วยปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ในอัตราที่เหมาะสม สนับสนุนการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การใช้ปุ๋ยพืชสด

                   และผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดินทดแทนการใช้ปุ๋ยเคมี และสารเคมีป้องกันก าจัด
                   ศัตรูพืช

                              4) เขตท าการเกษตรบนพื้นที่ดินทรายความอุดมสมบูรณ์ต่ า มีเนื้อที่ 6,050 ไร่ หรือร้อยละ
                   5.64 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า เพาะปลูกโดยอาศัยน้ าฝน พบกระจายตัวอยู่บริเวณฝั่งตะวันตกและ

                   ตะวันออกของพื้นที่ สภาพพื้นที่ค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ส่วนใหญ่ใช้ประโยชน์ใน

                   การท านา
                                4.1) เขตดินทรายความอุดมสมบูรณ์ต่ าท านา (2311A) มีเนื้อที่ 4,600 ไร่ หรือร้อยละ 4.29

                   ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า พื้นที่ค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ความอุดมสมบูรณ์ต่ า

                   ดินเป็นดินทรายหรือดินร่วนปนทราย ความอุดมสมบูรณ์ต่ า เพาะปลูกโดยอาศัยน้ าฝน การใช้ประโยชน์
                   ปัจจุบันท านา
   96   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106