Page 102 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 102

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                          86


                            ข้อเสนอแนะ ใช้อินทรียวัตถุ พวกปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก (ช่วงเตรียมดินใช้ปุ๋ยหมัก อัตรา 4-6

               ตัน/ไร่ หรือปุ๋ยคอก อัตรา 1.5-3 ตัน/ไร่ หว่านทั่วแปลงแล้วไถกลบ) แปลงปุ๋ยพืชสดหรือปรับปรุงบ ารุงดิน
               ด้วยปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ในอัตราที่เหมาะสม (ปุ๋ยเคมีสูตร 16-16-8 อัตรา 15-30 กิโลกรัม/ไร่ หรือ

               ใช้ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน) เร่งพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็ก ให้กระจายไปตามพื้นที่ และเพิ่มประสิทธิภาพ

               การใช้น้ าให้คุ้มค่า พัฒนาการผลิต ใช้พันธุ์ข้าวที่ดีมีคุณภาพที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และตรงกับความ
               ต้องการของตลาด สนับสนุนการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การใช้ปุ๋ยพืชสด และผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพของ

               กรมพัฒนาที่ดินปรับปรุงบ ารุงดิน ปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่นที่เหมาะสมกับทรัพยากรดินในพื้นที่ หรือ
               ปรับรูปแปลงนาเพื่อท าการเกษตรแบบผสมผสาน

                            4.2) เขตดินทรายความอุดมสมบูรณ์ต่ าปลูกพืชไร่ (2321A) มีเนื้อที่ 900 ไร่ หรือร้อยละ

               0.84 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า พื้นที่ค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย ดินเป็นดินทราย
               หรือดินร่วนปนทราย ความอุดมสมบูรณ์ต่ า เพาะปลูกโดยอาศัยน้ าฝน การใช้ประโยชน์ปัจจุบันปลูกพืชไร่

               ส่วนใหญ่เป็นมันส าปะหลัง
                            ข้อเสนอแนะ ใช้อินทรียวัตถุ พวกปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยพืชสดหรือปรับปรุงบ ารุงดินด้วย

               ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ในอัตราที่เหมาะสม เร่งพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็ก ให้กระจายไปตามพื้นที่ และ

               เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ าให้คุ้มค่า พัฒนาการผลิต ใช้พันธุ์พืชที่ดีมีคุณภาพที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่
               และตรงกับความต้องการของตลาด สนับสนุนการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การใช้ปุ๋ยพืชสด และผลิตภัณฑ์

               เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดินปรับปรุงบ ารุงดิน ปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่นที่เหมาะสมกับ

               ทรัพยากรดินในพื้นที่ ท าร่องระบายน้ าหรือทางระบายน้ าพร้อมปลูกหญ้าแฝกเพื่อลดการสูญเสียหน้าดิน
               หรือปรับรูปแปลงนาเพื่อท าการเกษตรแบบผสมผสาน หรืออาจปรับเปลี่ยนไปเป็นพืชไร่ชนิดอื่น เช่น

               แตงโม เนื่องจากเป็นพืชที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า และเป็นที่ต้องการของตลาด
                            4.3) เขตดินทรายความอุดมสมบูรณ์ต่ าปลูกไม้ผล/ไม้ยืนต้น (2331A) มีเนื้อที่ 550 ไร่ หรือ

               ร้อยละ 0.51 ของพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า กระจายตัวอยู่ทั่วไปในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า ดินมีความ

               อุดมสมบูรณ์ต่ า เป็นดินทรายหรือดินร่วนปนทราย เพาะปลูกโดยอาศัยน้ าฝน การใช้ประโยชน์ปัจจุบัน
               ปลูกพืชพืชไร่/ไม้ผลผสม ส่วนใหญ่เป็นยูคาลิปตัส

                            ข้อเสนอแนะ ใช้อินทรียวัตถุ พวกปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก ปุ๋ยพืชสดหรือปรับปรุงบ ารุงดินด้วย
               ปุ๋ยเคมีร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ในอัตราที่เหมาะสม เร่งพัฒนาแหล่งน้ าขนาดเล็ก ให้กระจายไปตามพื้นที่ และ

               เพิ่มประสิทธิภาพการใช้น้ าให้คุ้มค่า เช่นการใช้ระบบน้ าหยด พัฒนาการผลิต ใช้พันธุ์พืชที่ดีมีคุณภาพ

               ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และตรงกับความต้องการของตลาดลดการสูญเสียหน้าดินและรักษาความชื้นไว้
               ในดินด้วยการปลูกหญ้าแฝกรอบทรงพุ่ม (ส าหรับไม้ผล) หรือปลูกเป็นแถวขวางความลาดชัน สนับสนุน

               การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ การใช้ปุ๋ยพืชสด และผลิตภัณฑ์เทคโนโลยีชีวภาพของกรมพัฒนาที่ดินปรับปรุงบ ารุงดิน

               ปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่นที่เหมาะสมกับทรัพยากรดินในพื้นที่ หรือปรับรูปแปลงนาเพื่อท าการเกษตร
               แบบผสมผสาน หรืออาจปรับเปลี่ยนไปเป็นพืชชนิดอื่น เช่น ปลูกแตงโม หรือปลูกมะขามเทศซึ่งเป็นพืชผล

               ขึ้นชื่อของอ าเภอโนนไทย และเป็นที่ต้องการของตลาด
   97   98   99   100   101   102   103   104   105   106   107