Page 99 - แผนบริหารจัดการป้องกันการชะล้างพังทลายของดินและฟื้นฟูพื้นที่เกษตรกรรมด้วยระบบอนุรักษ์ดินและน้ำ ลุ่มน้ำห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา
P. 99

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                             83


                   ตารางที่ 4-2  แสดงเขตการใช้ที่ดินเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า ในพื้นที่ลุ่มน้ าห้วยท่าแค จังหวัดนครราชสีมา (ต่อ)


                                                                                              เนื้อที่
                     สัญลักษณ์                         ค าอธิบาย
                                                                                         ไร่      ร้อยละ
                       2322A       เขตดินเค็มความอุดมสมบูรณ์ต่ า ปลูกพืชไร่                 258       0.24
                       2332A       เขตดินเค็มความอุดมสมบูรณ์ต่ า ปลูกไม้ผล/ไม้ยืนต้น        472       0.44

                                เขตท าการเกษตรบนพื้นที่ที่มีการสูญเสียหน้าดิน 2-5 ตัน/ไร่/ปี   25,089   23.41
                       2221B       เขตดินลึกปานกลาง ปลูกพืชไร่ มีการสูญเสียหน้าดิน        15,928     14.86
                       2222B       เขตดินแน่นทึบ ปลูกพืชไร่ มีการสูญเสียหน้าดิน           3,992       3.72

                       2321B       เขตดินทรายความอุดมสมบูรณ์ต่ า ปลูกพืชไร่ มีการสูญเสียหน้าดิน   4,627   4.32
                       2322B       เขตดินเค็มความอุดมสมบูรณ์ต่ า ปลูกพืชไร่ มีการสูญเสียหน้าดิน   542   0.51
                        240     เขตปศุสัตว์                                               2,824       2.63

                        251     เขตเพาะเลี้ยงสัตว์น้ าจืด                                   338       0.32
                        320     ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง                                     9,727       9.07
                                เขตแหล่งน้ า                                              3,248       3.03
                        510        แหล่งน้ าธรรมชาติ                                      1,299       1.21

                        520        แหล่งน้ าที่มนุษย์สร้างขึ้น                            1,949       1.82
                                                   รวม                                   107,203    100.00

                        ข้อเสนอแนะ ควรมีการปลูกหญ้าแฝกเพื่ออนุรักษ์ดินและน้ า จัดการอบรมแนะน าให้ราษฎรในพื้นที่

                   เห็นถึงคุณค่าของทรัพยากรป่าไม้ ปลูกต้นไม้เพิ่มเติมเพื่อเป็นการเพิ่มพื้นที่ป่าไม้




                              1) เขตเกษตรผสมผสาน (200) มีเนื้อที่ 1,338 ไร่ หรือร้อยละ 1.25 ของพื้นที่เขตพัฒนา

                   ที่ดินลุ่มน้ า ท าการเกษตรโดยอาศัยน้ าฝน เป็นพื้นที่ท าเกษตรแบบไร่นาสวนผสมปลูกพืชได้หลายชนิด
                   รวมถึงเลี้ยงปลา เลี้ยงสัตว์อื่น ๆ ร่วมด้วย ดินมีความเหมาะสมปานกลางส าหรับปลูกพืชไร่ ไม้ผล และ

                   เหมาะสมน้อย ส าหรับปลูกข้าว

                              ข้อเสนอแนะ พัฒนาแหล่งน้ าให้มีใช้ให้เพียงพอ คัดเลือกข้าว/พืชพรรณ พันธุ์ดี หากจะปลูก
                   ผักให้วางแผนการเพาะปลูกให้ดี ให้มีรายได้ตลอดทั้งปี ปรับปรุงบ ารุงดินด้วยปุ๋ยอินทรีย์หรืออินทรียวัตถุ

                   ท าเกษตรอินทรีย์หรือพืชปลอดสารพิษเพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้าการเกษตรให้สูงขึ้น ใช้การปลูกหญ้าแฝก

                   รูปแบบต่าง ๆ ให้เหมาะกับพื้นที่เพื่อป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน
                              2) เขตท าการเกษตรบนพื้นที่ดินลึกปานกลาง มีเนื้อที่ 5,333 ไร่ หรือร้อยละ 4.98 ของพื้นที่

                   เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ า เพาะปลูกโดยอาศัยน้ าฝน พื้นที่ค่อนข้างราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อย
                   บริเวณที่ลุ่มใช้ส าหรับการท านา และที่ดอนปลูกพืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้น

                                2.1) เขตดินลึกปานกลางท านา (2211A) มีเนื้อที่ 4,840 ไร่ หรือร้อยละ 4.52 ของพื้นที่เขต

                   พัฒนาที่ดินลุ่มน้ า พื้นที่ค่อนข้างราบเรียบ ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง เพาะปลูกโดยอาศัยน้ าฝน
                   การใช้ประโยชน์ในปัจจุบัน ส่วนใหญ่ท านา
   94   95   96   97   98   99   100   101   102   103   104