Page 39 - โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำ : บริบทแห่งการพัฒนาพื้นที่สูงที่ยั่งยืน
P. 39
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
7-1
บทที่ 7
การอนุรักษ์ดินและน ้าในประเทศไทย
การอนุรักษ์ดินและน ้าในประเทศไทยได้เริ่มด้าเนินการมาอย่างต่อเนื่องนานกว่าห้าทศวรรษ
โดยกรมพัฒนาที่ดินได้ด้าเนินการค้นคว้า วิจัย สาธิตและด้าเนินการในพื นที่ภาคต่างๆของประเทศไทย
เพื่อให้เห็นความต่อเนื่องดังกล่าว สาระส้าคัญของการทบทวนในบทนี จะครอบคลุม 5 เรื่อง คือ
(1) ความหมาย (2) นโยบายการอนุรักษ์ดินและน ้า (3) ที่มาแห่งอ้านาจในการอนุรักษ์ดินและน ้า (4) มาตรการ
อนุรักษ์ดินและน ้า และ(5) การด้าเนินการอนุรักษ์ดินและน ้าบนพื นที่สูง โดยมีรายละเอียดดังนี
7.1 ความหมาย
พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 มาตรา 4 ได้ให้ความหมายการอนุรักษ์ดินและน ้าไว้ว่า
“การอนุรักษ์ดินและน ้า” หมายความว่า การกระท้าใดๆ ที่มุ่งให้เกิดการระวังป้องกันการรักษาดินและ
ที่ดิน ไม้ให้เกิดความเสื่อมโทรมสูญเสีย รวมถึงการรักษา ปรับปรุง ความอุดมสมบูรณ์ของดินและการรักษาน ้า
ในดินหรือบนผิวดินให้คงอยู่เพื่อรักษาดุลธรรมชาติให้เหมาะสมในการใช้ประโยชน์ที่ดินในทางเกษตรกรรม”
7.2 นโยบายการอนุรักษ์ดินและน ้าในประเทศไทย
นโยบายการอนุรักษ์ดินและน ้า มีปรากฏอย่างชัดเจนมาตั งแต่ พ.ศ. 2480 เมื่อพระยาพหลพล
พยุหเสนา ได้แถลงนโยบายของรัฐบาล คณะที่ 8 ต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ 23 ธันวาคม 2480 ได้มีข้อความว่า
“จะจัดการส้ารวจดินในท้องที่ต่างๆ ว่าเหมาะแก่การปลูกพืชชนิดใดบ้าง เมื่อได้ท้าการทดลองปลูกพืชที่เห็นว่า
เหมาะแก่พื นที่นั นฯ และเห็นลู่ทางที่จะบังเกิดผลสมประสงค์ก็จะได้แนะน้าชักจูงราษฎรบ้ารุงพื นที่ดินเพื่อให้
การเพาะปลูกพืชนั นๆ ได้ผลเท่าที่ควรจะได้”
รัฐได้มีนโยบายเกี่ยวกับการอนุรักษ์ดินและน ้า ทั งที่เป็นนโยบายโดยตรงและนโยบายที่มีส่วนสนับสนุน
ดังที่ปรากฏอยู่ในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ตั งแต่ฉบับที่ 1-12 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับที่ดิน
และป่าไม้หลายฉบับ ตลอดจนมติคณะรัฐมนตรีในเรื่องที่ดิน ป่าไม้ น ้า และสิ่งแวดล้อมจ้านวนมาก โดยมี
รายละเอียดในแผนพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับต่างๆ ดังนี
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 : ในช่วงที่ 2 ของแผน (2507-2509) ระบุไว้ว่า จะพัฒนา
ทรัพยากรธรรมชาติที่เป็นคุณค่าในการเกษตรอันได้แก่ เนื อที่ดิน ป่าไม้ น ้า และอื่นๆ เพื่อน้ามาใช้ให้ได้ผล
ประโยชน์ทางเศรษฐกิจโดยแท้จริงและถาวรโดยค้านึงถึงหลักอนุรักษ์กรรม นอกจากนั น ยังบ่งชี เกี่ยวกับการ
เร่งรัดการส้ารวจจ้าแนกประเภทที่ดินและความอุดมสมบูรณ์ของดิน โดยให้การอนุรักษ์ดินและน ้านั นอยู่ในความ
รับผิดชอบของกรมพัฒนาที่ดิน (ซึ่งจัดตั งขึ นใน พ.ศ. 2506)
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 2 : ให้มีการจัดตั งศูนย์อนุรักษ์ดินและน ้าปีละ 2 ศูนย์ในจังหวัดที่
เหมาะสม โดยมีส่วนสัมพันธ์กับการรักษาต้นน ้าล้าธาร
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 3 : ระบุไว้ในแนวทางการพัฒนาการเกษตรและชลประทานว่าให้มีการ
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ เพื่อประโยชน์แก่การเกษตรในอนาคต
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 4 : เน้นความส้าคัญของปัญหาและลักษณะของการใช้ทรัพยากรของ
ประเทศ ตลอดจนความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดล้อมของชาติ โดยการสนับสนุนให้กรมพัฒนาที่ดินขยายโครงการ
ประเภทอนุรักษ์ดินและน ้า รวมทั งปรับปรุงคุณภาพของดิน นอกจากนั น ยังให้ความส้าคัญด้านโครงการปลูกป่า
เพื่ออนุรักษ์บริเวณต้นน ้าล้าธารเป็นอันดับแรกและเร่งด่วน