Page 42 - โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำ : บริบทแห่งการพัฒนาพื้นที่สูงที่ยั่งยืน
P. 42
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
7-4
7.4 มาตรการอนุรักษ์ดินและน ้า
จากการค้นคว้าและทดสอบหามาตรการที่เหมาะสมมาเพื่อป้องกันความเสื่อมโทรมของดินในประเทศไทย
กรมพัฒนาที่ดิน ได้ก้าหนดมาตรการไว้ 2 ด้าน คือ (1) มาตรการวิธีกล และ(2) มาตรการวิธีพืช ดังนี
7.4.1 มาตรการวิธีกล เป็นวิธีการปรับสภาพของพื นที่ลดความยาวและความลาดเทของพื นที่
เพื่อลดความความสามารถในการเคลื่อนย้ายตะกอนดิน โดยการสร้างสิ่งกีดขวางความลาดเทของพื นที่และทิศ
ทางการไหลของน ้า เพื่อช่วยควบคุมน ้าไหลบ่าหน้าดิน ลดและชะลอความเร็วของกระแสน ้า วิธีการต้องใช้
เทคนิคความรู้ แรงงาน เครื่องมือและงบประมาณสูง ซึ่งการใช้มาตรการอนุรักษ์ดินและน ้าวิธีกลให้เหมาะสม
กับสภาพพื นที่และปัจจัยต่างๆ ดังนี
(1) การไถพรวนตามแนวระดับ (2) คันดิน (3) คันดินรับน ้ารูปครึ่งวงกลม และคันดินรับน ้า
รูปสี่เหลี่ยมคางหมู (4) คันดินเบนน ้า (5) ขั นบันไดดิน (6) คูรับน ้าขอบเขา (7) ฐานปลูกไม้ผลเฉพาะต้น
(8) คันชะลอความเร็วของน ้า (9) ทางระบายน ้า (10) บ่อดักตะกอน (11) บ่อน ้าในไร่นา (12) ทางล้าเลียงในไร่นา
7.4.2 มาตรการวิธีพืช เป็นการเพิ่มความหนาแน่น การคลุมดินป้องกันเม็ดฝนกระทบผิวดินตลอดจน
การปรับปรุงบ้ารุงดิน ลงทุนต่้า เกษตรกรสามารถปฏิบัติได้เอง โดยพืชตระกูลถั่ว หล้าเลี ยงสัตว์หรือหญ้า
ธรรมชาติ ปลูกเป็นแถบขวางความลาดเทของพื นที่หรือปลูกคลุมดิน หรือการใช้ระบบการปลูกพืชแบบ
ผสมผสาน เพื่อลดความแรงของเม็ดฝน ดักตะกอนดิน และชะลอความเร็วของน ้า การใช้มาตรการวิธีพืชให้
เหมาะสมกับสภาพพื นที่ และปัจจัยต่างๆ โดยมีวิธีต่างๆ ดังนี
(1) การปลูกพืชคลุมดิน (2) การคลุมดิน (3) การปลูกพืชปุ๋ยสด (4) การปลูกพืชสลับเป็นแถบ
(5) การปลูกพืชเป็นแถบไปตามแนวระดับ (6) การปลูกพืชสลับเป็นแถบไปตามท้องไร่ (7) การปลูกพืชสลับ
เป็นแถบขวางทางลม (8) การปลูกพืชตามแนวแก้แถบ (9) การปลูกพืชหมุนเวียน (10) การปลูกพืชแซม
(11) การปลูกพืชเหลื่อมฤดู (12) การปลูกพืชระหว่างแถบไม้พุ่มบ้ารุงดิน (13) คันซากพืช (14) แถบหญ้าเพื่อ
อนุรักษ์ดินและน ้า (15) การปลูกหญ้าเพื่อบ้ารุงรักษาคูรับน ้าขอบเขา (16) การปลูกหญ้าเพื่อบ้ารุงรักษา
เชิงลาดด้านนอกของขั นบันไดดิน (17) ไม้บังลม
7.5 การด้าเนินการอนุรักษ์ดินและน ้าบนพื นที่สูง
ดังที่ได้กล่าวมาข้างต้นว่ากรมพัฒนาที่ดินได้ด้าเนินการค้นคว้า วิจัย ด้านการอนุรักษ์ดินและน ้าที่
เหมาะสมกับสถานการณ์ในประเทศไทยมาอย่างต่อเนื่องเป็นเวลามากกว่าห้าทศวรรษจนสามารถก้าหนด
มาตรการวิธีกลและวิธีพืชที่ได้น้ามาด้าเนินการอยู่ในพื นที่สูงปัจจุบัน ดังประมวลภาพท้ายบทที่กรมพัฒนาที่ดิน
ได้ด้าเนินการในพื นที่สูงจังหวัดต่างๆ ของประเทศไทย
อย่างไรก็ตามภาพที่ปรากฏอยู่นี เป็นช่วงเวลาที่การก่อสร้างเพิ่งเสร็จสิ นลง ยังไม่มีการใช้ประโยชน์ตาม
วัตถุประสงค์ หากมีการปลูกพืชในช่วงฤดูกาลเพาะปลูก พื นที่นาขั นบันไดเหล่านี จะมีทัศนียภาพที่แตกต่างไป
จากปัจจุบัน จะมีความสวยงามเป็นแหล่งท่องเที่ยวในอนาคต เช่นเดียวกับที่ได้ถอดบทเรียนจากประสบการณ์
ของนานาชาติไว้ข้างต้น