Page 40 - โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำ : บริบทแห่งการพัฒนาพื้นที่สูงที่ยั่งยืน
P. 40
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
7-2
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 5 : เน้นการใช้ที่ดิน แหล่งน ้า และป่าไม้ ที่มีอยู่ให้เกิดประโยชน์สูงสุด
รวมถึงการอนุรักษ์เพื่อลดการเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติดังกล่าวด้วย ส่งเสริมการแก้ปัญหาดินที่มี
ปัญหา (เช่น ดินเค็มในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) และการปลูกไม้โตเร็วเพื่อการท้าฟืนและช่วยป้องกันการ
พังทลายของดินในภาคต่างๆ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 : เน้นการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างเป็นระบบ
รวมทั งการใช้ทรัพยากรดังกล่าวโดยค้านึงถึงการอนุรักษ์ พร้อมทั งให้ความส้าคัญแก่การก้าหนดชั นคุณภาพลุ่มน ้า
ที่ส้าคัญของประเทศ และโครงการปรับปรุงการจ้าแนกประเภทที่ดิน
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 : เน้นการอนุรักษ์ดินและน ้าโดยใช้วิธีที่ไม่ยุ่งยากและลงทุนน้อย สามารถ
ถ่ายทอดให้น้าไปปฏิบัติได้โดยรัฐจะเป็นผู้ให้บริการทางด้านวิชาการส้าหรับพื นที่ที่มีปัญหารุนแรงมาก จัดตั งหมู่บ้าน
อนุรักษ์ดินและน ้าหรือหมู่บ้านพัฒนาที่ดินให้ครบทุกอ้าเภอ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 : เน้นการส่งเสริมการอนุรักษ์ดินและน ้า โดยการปลูกพืชตามแนว
ระดับในพื นที่ลาดชัน รวมทั งการปรับปรุงบ้ารุงดินด้วยวิธีการธรรมชาติ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 9 : เน้นการฟื้นฟูทรัพยากรที่ดินที่มีปัญหาและเสื่อมโทรมให้มีความอุดม
สมบูรณ์ และเหมาะสมกับการใช้ประโยชน์เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร โดยสนับสนุนกิจกรรมการเกษตรแบบ
ยั่งยืนหรือเกษตรเชิงอนุรักษ์
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 : เน้นการอนุรักษ์ในพื นที่สูงชันโดยการปลูกหญ้าแฝก และฟื้นฟูความ
อุดมสมบูรณ์ของดิน โดยการส่งเสริมเกษตรกรรมเชิงอนุรักษ์ รวมทั งการก้าหนดเขตการใช้ที่ดิน
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 : เน้นการแก้ไขการชะล้างพังทลายของดิน โดยการปลูกหญ้าแฝกและ
พืชคลุมดิน ฟื้นฟูคุณภาพดินเค็มและดินเปรี ยว
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 12 : เน้นการอนุรักษ์ทรัพยากรดินและที่ดินให้มีคุณภาพเหมาะสมต่อการใช้
ประโยชน์
7.3 ที่มาแห่งอ้านาจในการอนุรักษ์ดินและน ้า
เมื่อวันที่ 23 พฤษภาคม 2506 ได้มีการประกาศใช้พระราชกฤษฎีกาแบ่งส่วนราชการกรมพัฒนาที่ดิน
กระทรวงพัฒนาการแห่งชาติ ในราชกิจจานุเบกษาเล่ม 80 ตอนที่ 51 ฉบับพิเศษ โดยมีส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง
กับการอนุรักษ์ดินและน ้า คือ “กองบริรักษ์ที่ดิน” ต่อมาเมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 2526 ได้ประกาศใช้
พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2526 ได้มีการแต่งตั ง “คณะกรรมการพัฒนาที่ดิน” ตามบทบัญญัติมาตรา 4
และมาตรา 5(4) ได้มีบทบัญญัติก้าหนดอ้านาจหน้าที่ “คณะกรรมการพัฒนาที่ดิน” ที่เกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์
ดินและน ้า ไว้ดังนี
“(4) พิจารณาให้ความเห็นของการจัดตั งหน่วยงานพัฒนาที่ดินระดับต่างๆ ขึ นในเขตท้องที่
หนึ่งท้องที่ใดเพื่อช่วยเหลือทางวิชาการ สาธิตและแนะน้าเกษตรกรโดยตรงในกรณีมาตรการเพื่อการปรับปรุง
ดินหรือที่ดินหรือมาตรการเพื่อการอนุรักษ์ดินและน ้าตามที่คณะกรรมการก้าหนดต้องใช้วิทยาการซึ่งไม่อาจ
น้าไปแนะน้าเกษตรกรด้วยวิธีการส่งเสริมได้”
ในปี พ.ศ. 2551 ได้มีการยกเลิกพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2526 และประกาศใช้
พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551 ซึ่งมีหลักการและเหตุผลที่ส้าคัญ คือ “…. โดยที่ปัจจุบันมีความเสื่อมโทรม
ของดินเพราะไม่มีการอนุรักษ์ดินและน ้า ท้าให้เกิดการชะล้างพังทลายของดินก่อให้เกิดความเสียหายต่อ
เศรษฐกิจและสังคม.....” (รายละเอียดในกรอบ 1)