Page 41 - โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำ : บริบทแห่งการพัฒนาพื้นที่สูงที่ยั่งยืน
P. 41
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
7-3
กรอบ 1
พระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ. 2551
“เหตุผลในการประกาศใช้พระราชบัญญัติฉบับนี คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน
พ.ศ. 2526 ได้ใช้บังคับมาเป็นเวลานานแล้ว มีบทบัญญัติบางประการไม่เหมาะสมกับสภาวการณ์ใน
ปัจจุบันและโดยที่ปัจจุบันมีปัญหาความเสื่อมโทรมของดินเพราะไม่มีการอนุรักษ์ดินและน ้า ท้าให้เกิด
การชะล้างพังทลายของดินก่อให้เกิดความเสียหายต่อเศรษฐกิจและสังคม รวมทั งไม่มีบทบัญญัติให้
หน่วยงานของรัฐสามารถเข้าไปด้าเนินการป้องกันรักษาสภาพพื นที่ที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดแผ่นดิน
ถล่มและเกิดการชะล้างพังทลายของดินอย่างรุนแรง และเพื่อให้การใช้ที่ดินเป็นไปอย่างมี
ประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุด สมควรก้าหนดมาตรการทางกฎหมายที่เหมาะสมเกี่ยวกับการ
ส้ารวจความอุดมสมบูรณ์ของดินตามธรรมชาติ ความเหมาะสมแก่การใช้ประโยชน์ที่ดิน และการ
ก้าหนดการอนุรักษ์ดินและน ้า การวิเคราะห์ตรวจสอบตัวอย่างดิน หรือการปรับปรุงดินหรือที่ดิน
ตลอดจนก้าหนดมาตรการห้ามกระท้าการใด ๆ รวมถึงการท้าให้ที่ดินเกิดการปนเปื้อนของสารเคมี
หรือวัตถุอื่นใด จึงจ้าเป็นต้องตราพระราชบัญญัตินี ”
ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เล่ม 125 ตอนที่ 27ก วันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2551
นอกจากนี บทบัญญัติมาตรา 13 แห่งพระราชบัญญัติพัฒนาที่ดิน พ.ศ.2551 ได้ก้าหนดให้ด้าเนินการ
ในพื นที่ที่เสี่ยงต่อการชะล้างของดินได้ดังนี
“มาตรา 13 ในกรณีที่ปรากฏว่าบริเวณพื นที่ใดมีลักษณะเป็นพื นที่ลาดชันเสี่ยงต่อการชะล้าง
พังทลายของดิน หรือเสี่ยงต่อการเกิดดินถล่ม อันเกิดจากการกระท้าของผู้เข้าไปครอบครองท้าประโยชน์ใน
บริเวณพื นที่ดังกล่าวโดยไม่เหมาะสม หรืออาจเกิดขึ นจากภัยธรรมชาติ หากปล่อยไว้ไม่ด้าเนินการจะเกิดการ
ชะล้างพังทลายของดินอย่างรุนแรงจนถึงขั นเกิดดินถล่มสร้างความสูญเสียแก่ชีวิตและทรัพย์สินของประชาชน
ให้รัฐมนตรีโดยค้าแนะน้าของคณะกรรมการมีอ้านาจประกาศในราชกิจจานุเบกษาก้าหนดให้พื นที่นั นเป็นเขต
อนุรักษ์ดินและน ้า และให้มีแผนที่แนบท้ายประกาศด้วย แผนที่ดังกล่าวให้ถือเป็นส่วนหนึ่งแห่งประกาศ”