Page 43 - สถานภาพการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย Status of Soil Erosion in Thailand
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        33


                                 Z   คือ  ความคงทนของเม็ดดิน
                                 Q   คือ ปริมาณน้ าไหลบ่าหน้าดิน (มิลลิเมตร)
                                 S    คือ ความลาดชันของพื้นที่ (เปอร์เซ็นต์)
                                 GC  คือ ร้อยละของพืชปกคลุมดิน (เปอร์เซ็นต์)

                                   (3) ความสามารถในการเคลื่อนย้ายตะกอนโดยน้ าไหลบ่าหน้าดิน
                                                            2
                                                                       -3
                                                    TC = C * Q * sin (S*10 )                          (1.4)
                          เมื่อ   TC คือ ความสามารถในการเคลื่อนย้ายตะกอนโดยน้ าไหลบ่าหน้าดิน
                                                   (กิโลกรัม/ตารางเมตร)
                                  C  คือ ปัจจัยเรื่องพืชคลุมดิน (ใช้ค่าเดียวกับแบบจ าลอง USLE)
                                  Q  คือ ปริมาณน้ าไหลบ่าหน้าดิน (มิลลิเมตร)
                                  S   คือ ความลาดชันของพื้นที่ (องศา)


                                 4) แบบจ าลอง Revised Morgan-Morgan Finney (RMMF) เป็นแบบจ าลองคาดการณ์
                   ปริมาณการชะล้างพังทลายของดินที่มีการปรับปรุงจากแบบจ าลอง Morgan-Morgan-Finney โดยใช้ข้อมูล
                   ปัจจัยด้านน้ าฝน (R, Rn, I) ปัจจัยด้านดิน (BD, MS, COH, K) ปัจจัยด้านพืชหรือการใช้ประโยชน์ที่ดิน (A, Et/Eo,
                   C, CC, GC, PH, EHD) ปัจจัยด้านสภาพภูมิประเทศ (S) ซึ่งแบบจ าลองนี้จะแยกวิเคราะห์ออกเป็น 2 กรณี คือ
                   พิจารณาปริมาณดินที่สูญเสียจากการถูกกัดเซาะด้วยน้ าฝนในกระบวนการแตกกระจายของดิน
                   (soil detachment) เปรียบเทียบกับปริมาณดินที่ถูกเคลื่อนย้ายด้วยน้ าไหลบ่าตามกระบวนการพัดพาอนุภาค
                   ของดินที่แตกกระจาย (transport capacity) หากกระบวนการใดให้ค่าปริมาณดินที่สูญเสียน้อยกว่าจะถือว่า

                   ปริมาณการสูญเสียดินที่เกิดจากกระบวนการนั้นเป็นปริมาณดินที่ถูกชะล้างพังทลายจริงที่เกิดขึ้นในพื้นที่ศึกษา
                   โดยมีสมการเปรียบเทียบ 2 สมการ ดังนี้
                                    (1) ปริมาณดินที่สูญเสียจากการถูกกัดเซาะด้วยน้ าฝนในกระบวนการแตกกระจายของดิน
                   รวม (total soil detachment)

                                                       D = F + H                                       (1.5)

                            เมื่อ  D  คือ ปริมาณดินที่สูญเสียจากการถูกกัดเซาะด้วยน้ าฝนในกระบวนการแตกกระจาย

                                           ของดินรวม (กิโลกรัมต่อตารางเมตร)
                                  F   คือ ปริมาณตะกอนที่เกิดจากการตกกระทบของเม็ดฝน (กิโลกรัมต่อตารางเมตร)
                                             ค านวณได้จากสมการ (1.2)
                                     H   คือ ปริมาณตะกอนที่เกิดจากกระบวนการน้ าไหลบ่าผิวดิน (กิโลกรัมต่อตารางเมตร)
                                           ค านวณได้จากสมการ (1.3)

                                   (2) ความสามารถในการเคลื่อนย้ายตะกอนโดยน้ าไหลบ่าหน้าดิน (transport capacity
                   of runoff, TC) ค านวณได้ตามสมการ (1.4)
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48