Page 13 - หลักจรรยาบรรณสากลเพื่อการใช้และการจัดการปุ๋ยอย่างยั่งยืน (The International Code of Conduct for the Sustainable use and Management of fertilizers) : ปลจากเอกสารเผยแพร่ เรื่อง "Revised World Soil Chartar" ขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization (FAO) of the United Nations)
P. 13
1.5.9 กระตุ้นและปรับปรุงให้เกิดการแปรรูป 1.6.6 ช่วยเหลือภูมิภาคต่างๆ และนานาประเทศ
แล้วน าธาตุอาหารกลับมาใช้ใหม่ (recycle) ในการควบคุมและบังคับใช้คุณภาพปุ๋ย
ผ่านกลไกการควบคุมที่เหมาะสมและ
1.6 วัตถุประสงค์ของหลักจรรยาบรรณปุ๋ย คือ การลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจต่อผู้ใช้
1.6.1 จัดท ามาตรฐานการปฏิบัติตามความสมัคร 1.6.7 ปรับปรุงความปลอดภัยของปุ๋ ยและลด
ใจส าหรับทุกคนที่มีส่วนเกี่ยวข้องในการใช้ ความเสี่ยงต่อสุขภาพมนุษย์และสัตว์
และการจัดการปุ๋ย ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ 1.6.8 สนับสนุนการส่งเสริมและเผยแพร่ความรู้
อุตสาหกรรมปุ๋ย อุตสาหกรรมขยะรีไซเคิล รวมถึงข้อมูลทางสถิติในประเด็นที่เกี่ยวข้อง
เกษตรกร และผู้ใช้ปลายทาง รวมถึง กับการใช้และการจัดการปุ๋ย ผ่านกลไก
หน่วยงานส่งเสริมการเกษตรและบริการให้ สถาบันการศึกษาและโครงการส่งเสริม
ค าปรึกษา ภาคเอกชน สถาบันการศึกษา ที่เหมาะสม
และการวิจัย และหน่วยงานสาธารณะอื่นๆ
1.6.9 สนับสนุนการจัดการความอุดมสมบูรณ์ของ
1.6.2 ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างผู้มีส่วนได้ ดินโดยใช้ธาตุอาหารจากแหล่งที่ปลอดภัย
ส่วนเสียที่เกี่ยวข้องในห่วงโซ่ปุ๋ ยแ ละ
อุตสาหกรรมของเสียและรีไซเคิลเพื่อ 1.7 หลักจรรยาบรรณปุ๋ยฉบับนี้เป็นเอกสารที่สามารถ
พัฒนาการผลิต การใช้และการจัดการปุ๋ ย ปรับเปลี่ยนได้ตลอดเวลาและควรได้รับการทบทวน
อย่างมีความรับผิดชอบและยั่งยืน รวมถึง อย่างสม ่าเสมอ หลังจากมีการด าเนินการเผยแพร่
ก า รน าธาตุอาหารกลับมาใช้ใหม่ (reuse) และปรับปรุงทุกๆ ห้าถึงสิบปีหรือเมื่อใดก็ตามที่
หรือการแปรรูปแล้วน ามาใช้ใหม่ (recycle) เห็นสมควรโดยประเทศสมาชิก ผ่านองค์กรที่
1.6.3 ส่งเสริมความโปร่งใส ความร่วมมือ การเป็น เหมาะสมที่อยู่ภายใต้การก ากับดูแลของ FAO
หุ้นส่วน และการแลกเปลี่ยนข้อมูลระหว่าง
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง
โดยค านึงการเข้าถึงปุ๋ยและ การใช้ปุ๋ย [ต้อง
สอดคล้องกับข้อผูกพันทางการแข่งขันทาง
กฎหมาย]
1.6.4 ส่งเสริมการแปรรูปธาตุอาหารอย่างปลอดภัย
เพื่อการเกษตรและการใช้ที่ดินประเภทอื่นๆ
เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และ
สุขภาพมนุษย์ สัตว์และดิน อันเนื่องมาจาก
ธาตุอาหารส่วนเกินในส่วนบนพื้นผิวโลก
บรรยากาศ และอุทกวิทยา
1.6.5 สร้างแรงบันดาลใจให้หน่วยงานภาครัฐ
สถาบันวิจัย เอกชน และประชาสังคม
ในการส่งเสริมและสนับสนุนเงินทุนทางด้าน
นวัตกรรม การปฏิบัติ เทคโนโลยี และ
การจัดการทางการเกษตรอย่างยั่งยืน เพื่อ
ปรับปรุงความอุดมสมบูรณ์ของดินและ
การจัดการธาตุอาหารในดิน
3