Page 17 - หลักจรรยาบรรณสากลเพื่อการใช้และการจัดการปุ๋ยอย่างยั่งยืน (The International Code of Conduct for the Sustainable use and Management of fertilizers) : ปลจากเอกสารเผยแพร่ เรื่อง "Revised World Soil Chartar" ขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization (FAO) of the United Nations)
P. 17
การก าจัด (Disposal): การด าเนินการใดๆ ที่จะก าจัด สูตรปุ๋ ยหรือธาตุอาหารที่เป็นประโยชน์ต่อพืช (Fertilizer
การแปรสภาพเพื่อน ากลับมาใช้ใหม่ ท าให้เป็นกลาง หรือ grade or plant available nutrient content): ปริมาณรวม
แยกปุ๋ย และผลพลอยได้ ภาชนะ และวัสดุที่มีการปนเปื้อน ของธาตุอาหารพืชในปุ๋ยที่เป็นประโยชน์ต่อการดูดใช้ของพืช
การกระจาย (Distribution): กระบวนการที่ปุ๋ยถูกแจกจ่าย อุตสาหกรรมปุ๋ ย (Fertilizer industry): ห่วงโซ่แห่งคุณค่า
และขนส่งผ่านช่องทางการค้าไปยังตลาดระดับท้องถิ่น ปุ๋ ยทั้งหมด ซึ่งจ ะ เกี่ยวข้องกับการผลิตและจ าหน่ายปุ๋ย
ประเทศ หรือระหว่างประเทศ รวมถึงการผลิตขั้นพื้นฐานหรือการท าเหมือง การแปรรูปเป็น
ผลิตภัณฑ์สุดท้าย การขนส่ง การเก็บรักษาและการส่งมอบ
ระบบนิเวศ (Ecosystem): ระบบนิเวศประกอบด้วย ปุ๋ยแก่ผู้ใช้
สิ่งมีชีวิตทั้งหมดในพื้นที่และสภาพแวดล้อมทางกายภาพ
ที่มีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งมีชีวิตนั้นๆ การจัดการปุ๋ ย (Fertilizer management): กฎระเบียบ
และการควบคุมทางเทคนิคของปุ๋ยทุกด้าน รวมถึงการผลิต
นิเวศบริการ (Ecosystem services): ประโยชน์ต่างๆ (กระบวนการผลิตและสูตร) การอนุญาต การน าเข้า
จ านวนมากที่ธรรมชาติมอบให้แก่สังคม การส่งออก การติดฉลาก การกระจาย การขาย การขนส่ง
ยูโทรฟิ เคชั่น (Eutrophication): ปริมาณธาตุอาหารซึ่ง การจัดเก็บ การจัดการ การใช้และการก าจัดปุ๋ย เพื่อให้มั่นใจ
ส่วนใหญ่เป็นธาตุไนโตรเจนและฟอสฟอรัสที่มีอยู่มากเกินไป ในความปลอดภัย คุณภาพและประสิทธิภาพในการใช้งาน
ในน ้าผิวดิน และเพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพและสิ่งแวดล้อม
การใช้ปุ๋ ยในทางที่ผิด (Fertilizer misuse): เกี่ยวข้องกับ
การให้ปุ๋ ยในระบบน ้า (Fertigation): การให้ธาตุอาหารแก่
พืช สารปรับปรุงดิน หรือน ้าที่ถูกบ าบัดแล้วจากการแปรรูป การเพิ่มธาตุอาหารในดิน ทางใบหรือน ้าที่ไม่สร้างผลเชิงบวก
อาหารและระบบบ าบัดน ้าเสีย โดยใช้ระบบน ้าชลประทาน ต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของพืช การรั่วไหลของปุ๋ย
หรือการใช้สิ่งปนเปื้อนลงสู่ดินที่อาจก่อให้เกิดความเสี่ยงต่อ
ปุ๋ ย (Fertilizer): สารที่ให้ธาตุอาหารแก่พืช ส่วนใหญ่มักจะ สุขภาพของมนุษย์และสิ่งแวดล้อม (อธิบายเพิ่มเติมใน
ผ่านการประยุกต์ใช้กับดิน แต่บางส่วนประยุกต์ใช้ ผ่านทาง หลักการที่ 4.5.5)
ใบหรือน ้าในระบบการท านา การให้ปุ๋ยในระบบน ้าไฮโดร-
โปนิกส์ หรือการเพาะเลี้ยงสัตว์น ้า (เนื้อหาเพิ่มเติมใน ประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ ย (Fertilizer use efficiency):
หลักการที่ 1.4) การประมาณหรือการค านวณปริมาณของธาตุอาหารในปุ๋ย
ที่พืชดูดใช้หลังจากใส่ปุ๋ยลงดิน ซึ่งกล่าวรวมทั้งพืชที่ปลูก
สารเติมแต่งปุ๋ ย (Fertilizer additives): สารที่เพิ่มหรือ หลังจากการใส่ปุ๋ยหรือพืชในฤดูกาลต่อมา
ปรับเปลี่ยนปุ๋ย หรือผลิตภัณฑ์ที่เพิ่มลงในดิน ซึ่งออกแบบมา
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการใช้ปุ๋ ย เช่น การลดความเร็วใน ผู้ใช้ปุ๋ ย (Fertilizer user): บุคคลที่ใช้ปุ๋ยเพื่อวัตถุประสงค์
การละลายของปุ๋ ยและการปล่อยธาตุอาหารอย่างช้าๆ เฉพาะในการเพิ่มธาตุอาหารเพื่อการดูดใช้ของพืช ผู้ใช้ปุ๋ยจะ
การเคลือบเม็ดปุ๋ ย การยับยั้งกระบวนการไนตริฟิเคชั่น รวมถึงเกษตรกร ผู้จัดการที่ดิน และผู้ผลิตอาหารหน่วยงาน
(nitrification) หรือยูเรียไฮโดรไลซิส (urea hydrolysis) หรือ สาธารณะหรือเอกชนที่ดูแลสวนสาธารณะ และสิ่งอ านวย
การกระตุ้นจุลินทรีย์ในดิน ความสะดวกด้านการกีฬา รวมถึงผู้ใช้ปุ๋ ยเพื่อการท าสวน
บริเวณบ้าน
การใช้ปุ๋ ย (Fertilizer application): การใช้ธาตุอาหารเพื่อ
การเจริญเติบโตของพืช และไม่ระบุปุ๋ยจ าเพาะเจาะจงชนิด ปุ๋ ยพืชสด (Green manure): พืชที่ปลูกเพื่อคลุมดินและ
ใดๆ นอกจากนั้น ยังรวมถึงการใช้งานเพื่อการเกษตรและ ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพ เคมีและชีวภาพของดิน
วัตถุประสงค์อื่นๆ รวมถึงการสร้างสิ่งอ านวยความสะดวก น ้าใต้ดิน (Groundwater): น ้าทั้งหมดที่อยู่ใต้ผิวของชั้นที่
ด้านนันทนาการและการกีฬา สนามหญ้าส่วนตัว และ เป็นเขตอิ่มตัวด้วยน ้าและสัมผัสโดยตรงกับดินล่าง
สวนสาธารณะ
7