Page 9 - หลักจรรยาบรรณสากลเพื่อการใช้และการจัดการปุ๋ยอย่างยั่งยืน (The International Code of Conduct for the Sustainable use and Management of fertilizers) : ปลจากเอกสารเผยแพร่ เรื่อง "Revised World Soil Chartar" ขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization (FAO) of the United Nations)
P. 9
องค์การสหประชาชาติ (UN) และประเทศสมาชิก
ต่างๆ ได้ด าเนินงานอย่างแข็งขันเพื่อให้บรรลุวิสัยทัศน์ของ
วาระการพัฒนาที่ยั่งยืนปี พ.ศ. 2573 และสอดคล้องกับ
เป้าหมายทั้ง 17 ประเด็นของการพัฒนาที่ยั่งยืนและ
การฟื้นฟูความเสื่อมโทรมของที่ดินด้วยแนวปฏิบัติและ
ค าแนะน าต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการดินและธาตุอาหาร
อย่างยั่งยืน
นอกจากนี้ ในระหว่างการประชุมสมัยที่ 25 จัดขึ้น
ระหว่างวันที่ 26 - 30 กันยายน พ.ศ. 2559 คณะกรรมการ
ด้านเกษตร (COAG) ได้ขอให้องค์การอาหารและเกษตร
แห่งสหประชาชาติ (FAO) เน้นประเด็นความปลอดภัยของ
อาหารและสนับสนุนทางเทคนิคแก่เกษตรกรรายย่อย
ในระดับท้องถิ่นเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ ยและยาฆ่าแมลงอย่าง
ปลอดภัย (FAO, 2016)
สถานะล่าสุดของทรัพยากรดินของโลก ที่รายงาน
และตีพิมพ์โดย FAO และคณะกรรมการวิชาการด้านดิน
(ITPS) ระบุว่าภัยคุกคามที่มีต่อดินหลักๆ มี 1 0 ประการ
ซึ่งจ าเป็นจ ะ ต้องได้รับการปรับปรุงแก้ไขจึงจะบรรลุ
เป้าหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน (FAO & ITPS 2015)
โดยประเด็นด้านดินมีส่วนเกี่ยวข้องกับการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ไม่ว่าทางตรงหรือทางอ้อม (เป้าหมายที่ 2, 3, 6, 13 และ 15)
ซึ่งเกี่ยวข้องกับความหิวโหย สุขภาพของมนุษย์ผ่านทาง
โภชนาการ น ้าที่สะอาด การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
และการใช้ประโยชน์จากระบบนิเวศทางบก สมัชชา
ความร่วมมือทรัพยากรดินโลก (GSP) และ FAO จึงได้จัดท า
VGSSM เป็นขั้นตอนแรกในการจัดการกับภัยคุกคาม
เหล่านั้น ซึ่งมีสองประเด็นที่เกี่ยวข้องคือ “ความไม่สมดุลของ
ธาตุอาหาร” และ “มลพิษในดิน” และเกี่ยวข้องกับการใช้ปุ๋ย
ที่มากเกินไป ไม่เพียงพอ หรือก่อให้เกิดมลพิษ (FAO 2017)
บทที่เกี่ยวข้องใน VGSSM (ประเด็นที่ 3.3 – การสร้าง
ความสมดุลและการหมุนเวียนธาตุอาหารในดิน และ 3.5 -
การป้องกันและบรรเทาการปนเปื้อนในดิน) ได้ให้ค าแนะน า
เบื้องต้นเกี่ยวกับการส่งเสริมการใช้ ธาตุอาหารอย่างยั่งยืน
ที่สอดคล้องกับดิน การเกษตร และสิ่งแวดล้อม แต่ยังคง
ต้องการการสนับสนุนและค าแนะน าเพิ่มเติมเพื่อด าเนินการ
ตามค าแนะน าเหล่านี้
ง