Page 12 - หลักจรรยาบรรณสากลเพื่อการใช้และการจัดการปุ๋ยอย่างยั่งยืน (The International Code of Conduct for the Sustainable use and Management of fertilizers) : ปลจากเอกสารเผยแพร่ เรื่อง "Revised World Soil Chartar" ขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization (FAO) of the United Nations)
P. 12
หลักการที่ 1 เกษตรยั่งยืนและการพัฒนาอย่างยั่งยืน ซึ่งเน้น
การบูรณาการการใช้ปุ๋ ยอย่างมีประสิทธิภาพและ
ขอบเขต เป้าหมาย และ ประสิทธิผล โดยเน้นผลลัพธ์ดังต่อไปนี้:
วัตถุประสงค์ 1.5.1 ช่วยสร้างความมั่นใจในระบบการผลิต
อาหารและความมั่นคงทางอาหารของโลก
1.1 หลักจรรยาบรรณสากลเพื่อการใช้และการจัดการปุ๋ ย ในขณะเดียวกัน ช่วยรักษาความอุดม
อย่างยั่งยืน หรือที่เรียกว่า "หลักจรรยาบรรณปุ๋ย" เป็น สมบูรณ์ของดิน การบริการของระบบนิเวศ
ชุดแนวทางการปฏิบัติตามความสมัครใจและการตกลง และการปกป้องสภาพแวดล้อม
ร่วมกันโดยผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ใ น การใช้และ 1.5.2 ช่วยให้มีการใช้ปุ๋ยอย่างมีประสิทธิภาพและ
การจัดการธาตุอาหารพืช ประสิทธิผลสูงสุดเพื่อตอบสนองความต้องการ
ผลผลิตทางการเกษตร ในขณะเดียวกันยัง
1.2 หลักจรรยาบรรณปุ๋ ยฉบับนี้เป็นส่วนเพิ่มเติมจาก
VGSSM และควรศึกษาไปพร้อมๆ กับกรอบการ ช่วยลดการสูญเสีย ธาตุอาหารสู่สิ่งแวดล้อม
ด าเนินงานของ VGSSM โดยการจัดการปุ๋ยที่เหมาะสม 1.5.3 เน้นความจ าเป็นในการใช้ปุ๋ย โดยเฉพาะ
จะต้องค านึงถึงระบบการเกษตรโลก (การปลูกพืช อย่างยิ่งในพื้นที่ด้อยโอกาส (หรือพื้นที่ที่มี
หมุนเวียนและการปลูกพืชหลายชนิด ดิน แรงงาน การใช้ธาตุอาหารพืชน้อยเกินไป)
ตลาด ฯลฯ) รวมถึงสภาพภูมิอากาศและอุทกวิทยา 1.5.4 รักษานิเวศบริการและลดผลกระทบต่อ
สิ่งแวดล้อมจากการใช้ปุ๋ยรวมทั้งมลพิษใน
1.3 ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่มีการระบุในหลักจรรยาบรรณปุ๋ย ดินและน ้า การระเหยของแอมโมเนีย
จะรวมถึงภาครัฐ ผู้ก าหนดนโยบายอุตสาหกรรมปุ๋ ย การปล่อยก๊าซเรือนกระจก และกลไก
อุตสาหกรรมของเสียและการรีไซเคิล ระบบการวิจัย การสูญเสียธาตุอาหารอื่นๆ
การเกษตรแห่งชาติ (National Agricultural Research
System; NARS) มหาวิทยาลัยห้องปฏิบัติการเกษตร 1.5.5 เพิ่มประโยชน์ทางเศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
และบริการวิเคราะห์ หน่วยงานส่งเสริมการเกษตรและ จากการใช้ปุ๋ ยอย่างยั่งยืน รวมถึงลด
บริการให้ค าปรึกษา ประชาสังคม และผู้ใช้ปุ๋ ย ความต้องการที่ดินเพิ่มเติมเพื่อเพิ่มปริมาณ
โดยเฉพาะเกษตรกร การผลิต เพิ่มการกักเก็บคาร์บอนในดิน
และปรับปรุงสุขภาพดิน
1.4 เมื่อใช้ค าว่า "ปุ๋ ย" จ ะ หมายถึงปุ๋ ยจากเคมีหรือจาก
ธรรมชาติหรือจากวัสดุที่ใช้ในการเพิ่มธาตุอาหารแก่ 1.5.6 หลีกเลี่ยงการมีธาตุอาหารส่วนเกินตกค้าง
พืช ผ่านการใช้หรือใส่ลงดิน ฉีดพ่นทางใบหรือระบบน ้า ในดินและน ้าผิวดิน ซึ่งส่งผลเสียต่อสุขภาพ
ในนาข้าว การให้ปุ๋ยกับระบบน ้าหรือการปลูกพืชไร้ดิน ของมนุษย์และสัตว์
หรือการเพาะเลี้ยงสัตว์น ้า ดังนั้น ชนิดและแหล่งของ 1.5.7 หลีกเลี่ยงการใช้ผลิตภัณฑ์ที่จะก่อให้เกิด
ธาตุอาหารที่หลากหลายจ ะ ถูกพิจารณาในหลัก สารปนเปื้อนในปุ๋ยซึ่งจะมีผลกระทบด้านลบ
จรรยาบรรณปุ๋ ยฉบับนี้ รวมถึงปุ๋ ยเคมีและแร่ธาตุ และเป็นพิษกับดิน ความหลากหลาย
ปุ๋ยอินทรีย์ เช่น ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และปุ๋ยที่มาจากการ ทางชีวภาพในดิน รวมถึงสุขภาพของมนุษย์
รีไซเคิล เช่น น ้าเสีย กากตะกอนน ้าเสีย และขยะ และสัตว์
แปรรูปอื่นๆ 1.5.8 รักษาและปรับปรุงความปลอดภัยของ
อาหาร คุณภาพของโภชนาการ และ
1.5 เจตจ านงของหลักจรรยาบรรณปุ๋ ยฉบับนี้ คือเพื่อ
ช่วยเหลือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการจัดตั้งระบบส าหรับ สุขภาพของมนุษย์โดยการใช้ธาตุอาหารพืช
การติดตามการผลิต การจัดจ าหน่าย (รวมถึงการขาย) อย่างเหมาะสม
คุณภาพ การจัดการและการใช้ปุ๋ยเพื่อบรรลุเป้าหมาย
2