Page 8 - หลักจรรยาบรรณสากลเพื่อการใช้และการจัดการปุ๋ยอย่างยั่งยืน (The International Code of Conduct for the Sustainable use and Management of fertilizers) : ปลจากเอกสารเผยแพร่ เรื่อง "Revised World Soil Chartar" ขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization (FAO) of the United Nations)
P. 8

ความเป็นมา                                           ปัญหาใ น มุมมองระดับโลกที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วม
                                                                ในการพัฒนาอย่างยั่งยืน (SDGs) รวมถึงการสร้างความมั่นใจ
                                                                ในระบบการผลิตอาหารที่ยั่งยืน  การขจัดความหิวโหยและ

                  “ปุ๋ ย” ไม่ว่าจะเป็นปุ๋ ยจากแหล่งแร่ธรรมชาติ   การขาดสารอาหาร การเพิ่มความมั่นคงด้านอาหารและ
           สังเคราะห์ และอินทรีย์ นับเป็นปัจจัยส าคัญและมีการใช้  โภชนาการ การลดมลพิษ และการปรับปรุงความปลอดภัย
           อย่างแพร่หลายในภาคเกษตรกรรม ทั้งนี้เพื่อช่วยให้เกิด  ของอาหาร  โดยหลักจรรยาบรรณนี้จะน าเสนอการใช้และ

           ความมั่นคงด้านอาหารในระดับโลก เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต   การจัดการปุ๋ ยอย่างรอบคอบเพื่อป้องกันการใช้ปุ๋ ยไม่
           ของเกษตรกร และโภชนาการที่ส าคัญของมนุษย์ การใช้ปุ๋ย  เหมาะสม
           อย่างรอบคอบจะช่วยเพิ่มปริมาณการผลิตทางการเกษตร
           ลดความต้องการที่ดินเพิ่มเติมเพื่อการเพาะปลูก ซึ่งอาจช่วย  บทนำ

           ป้องกันการตัดไม้ท าลายป่าและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน
           นอกจากนั้น ปุ๋ยยังช่วยป้องกันการเสื่อมโทรมของดินและ
           ความล้มเหลวของการผลิตพืช โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่               ปุ๋ ยมีความส าคัญต่อการด ารงชีวิตของประชากร
           เกี่ยวข้องกับแหล่งแร่ธาตุอาหารและการขาดหรือการใช้ธาตุ  โลก โดยส่งเสริมความมั่นคงด้านอาหาร วิถีชีวิตของ
           อาหารส าหรับพืชที่น้อยเกินไป อย่างไรก็ตาม ปุ๋ ยอาจมี  เกษตรกร โภชนาการที่จ าเป็นแก่มนุษย์ ธาตุอาหารส าหรับ
           ผลกระทบด้านลบต่อสิ่งแวดล้อม มนุษย์ สัตว์และสุขภาพดิน   การผลิตวัสดุทดแทนต่างๆ  เช่น ไม้ เส้นใย และเชื้อเพลิง

                                                                ชีวภาพ เป็นต้น และมีบทบาทในการลดการเปลี่ยนแปลง
                  ในระดับภูมิภาค ปุ๋ ยต้องอยู่ภายใต้กฎหมายและ   การใช้ที่ดินจากระบบนิเวศดั้งเดิมหรือการใช้ประโยชน์อื่นๆ
           ข้อบังคับต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การค้า การกระจาย   ที่ส่งเสริมการบริการของระบบนิเวศไปเป็นการผลิตทาง
           การตลาด ความปลอดภัย และการใช้งานที่อาจแตกต่างกัน     การเกษตร ปุ๋ยช่วยเพิ่มความเป็นประโยชน์ของธาตุอาหาร

           ภายในหรือระหว่างประเทศ การใช้และการจัดการปุ๋ยอย่างมี  พืชซึ่งสามารถปรับปรุงนิเวศบริการของดินที่มีส่วนร่วม
           ความรับผิดชอบในระดับแปลงต้องค านึงถึงปัจจัยหลาย      (ทั้งทางตรงและทางอ้อม) ต่อการผลิตอาหารมากถึง
           ประการอย่างรอบคอบ รวมถึงชนิดพืชที่ปลูก ชนิดและสภาพ   95 เปอร์เซ็นต์ของอาหารบนโลก การใช้ธาตุอาหารอย่าง
           ของดิน กิจกรรมทางการเกษตรในอดีต การใช้น ้า สภาพ      เหมาะสมส่งเสริม  การผลิตมวลชีวภาพและช่วยปรับปรุง

           ภูมิอากาศ เศรษฐศาสตร์ภายในฟาร์ม ปริมาณธาตุอาหาร      อินทรียวัตถุในดินและสุขภาพดิน  แต่อย่างไรก็ตาม หากมี
           และคุณลักษณะของปุ๋ย ตลอดจนการเข้าถึงปุ๋ยของเกษตรกร   การใช้ปุ๋ ยผิดวิธี ผลกระทบของปุ๋ ยจะมีผลต่อการ
           นอกจากนี้ การใช้ปุ๋ยจะต้องได้รับการพิจารณาในระดับพื้นที่   เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศโลก ความเสื่อมโทรมของ
           ระดับภูมิภาค และระดับโลก เนื่องจากศักยภาพการสูญเสีย  ทรัพยากรดินและน ้า ความเสื่อมโทรมของคุณภาพอากาศ
           ธาตุอาหารที่อาจเกิดขึ้นไปสู่สิ่งแวดล้อมและผลกระทบ       การสูญเสียธาตุอาหารในดิน  และอันตรายที่อาจเกิดขึ้นต่อ
           เชิงลบที่สอดคล้องกับของการสูญเสียดังกล่าว ดังนั้นจึง  สุขภาพของมนุษย์  สัตว์ และสุขภาพดิน  โดยมีรายงานว่า

           จ าเป็นต้องมีวิธีการแบบองค์รวมในการใช้ธาตุอาหารและ   กิจกรรมทางชีวเคมีของไนโตรเจนและฟอสฟอรัสถูกรบกวน
           วัฏจักร  ของธาตุอาหารในดิน พืช สัตว์ มนุษย์ น ้า และ  เนื่องจากการผลิตเพื่อใช้ในการเกษตรเกินขอบเขตที่
           สิ่งแวดล้อม                                          ปลอดภัย โดยสรุปแล้วจุดมุ่งหมายของการจัดท าเอกสาร


                  เอกสารนี้เป็นหลักจรรยาบรรณสากลเพื่อการใช้     ฉบับนี้คือ การใช้ปุ๋ยให้เกิดประโยชน์สูงสุด ในขณะเดียวกันก็
           และการจัดการปุ๋ ยอย่างยั่งยืน ซึ่งถูกออกแบบมาเพื่อ   ลดผลกระทบด้านลบให้น้อยที่สุด  การอภิปรายทั้งหมดใ น
           สนับสนุนและปฏิบัติตามแนวทาง  VGSSM โดยหลัก           เอกสารนี้มุ่งเน้นเพื่อ การอนุรักษ์ดินโดยการลดการชะล้าง
           จรรยาบรรณนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อช่วยประเทศต่างๆ ใน       พังทลายของดินในทุกรูปแบบ  เพื่อให้สอดคล้องกับ
           การจัดการประเด็นที่หลากหลาย และซับซ้อนที่เกี่ยวข้องกับ    การจัดการดินอย่างยั่งยืน (Sustainable Soil Management;

           การใช้และการจัดการปุ๋ ยอย่างมีความรับผิดชอบใน        SSM) รวมถึงการเพิ่มธาตุอาหารในดินอย่างยั่งยืน หลัก
           เกษตรกรรมระดับแปลง ระดับระบบนิเวศ และระดับประเทศ     จรรยาบรรณนี้ยังแสดงถึงปัญหาความไม่สมดุลของธาตุ
           นอกจากนี้หลักจรรยาบรรณนี้ยังมีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไข  อาหารที่ป้องกันไม่ให้มีการใช้ปุ๋ยน้อยและมากเกินไป ตามที่
                                                                ก าหนดในรายงานสถานะทรัพยากรดิน



                                                            ค
   3   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13