Page 16 - หลักจรรยาบรรณสากลเพื่อการใช้และการจัดการปุ๋ยอย่างยั่งยืน (The International Code of Conduct for the Sustainable use and Management of fertilizers) : ปลจากเอกสารเผยแพร่ เรื่อง "Revised World Soil Chartar" ขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization (FAO) of the United Nations)
P. 16
หลักการที่ 2 ปุ๋ ยชีวภาพ (Biofertilizer): เป็ นค ากว้างที่ใช้ส าหรับ
ผลิตภัณฑ์ที่มีส่วนประกอบของสิ่งมีชีวิตหรือจุลินทรีย์ เช่น
ข้อกำหนด แบคทีเรีย เชื้อราแอคติโนมัยซีต และสาหร่าย อาจจะ
และคำจำกัดความ ประกอบด้วยสิ่งมีชีวิตชนิดเดียวหรือหลายชนิดรวมกัน
ซึ่งช่วยในการตรึงไนโตรเจนในบรรยากาศหรือท าละลาย/
เคลื่อนย้ายธาตุอาหารในดิน
หน่วยงานส่งเสริมการเกษตรและบริการให้ค าปรึกษา
(AEAS): หมายถึงองค์กรใดๆ ในภาครัฐหรือเอกชน (องค์กร สารกระตุ้นการเจริญเติบโตของพืช (Biostimulant):
ไม่แสวงหาผลก าไร (NGOs) สถาบันเกษตรกร บริษัทเอกชน ผลิตภัณฑ์ที่กระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชผ่านการ
ฯลฯ) ที่อ านวยความสะดวกให้เกษตรกรและหน่วยงาน สังเคราะห์สารประกอบที่ส่งเสริมการเจริญเติบโตและ/หรือ
ในชนบทให้สามารถเข้าถึงองค์ความรู้ สารสนเทศ และ กระบวนการของธาตุอาหารพืชที่ไม่เกี่ยวกับปริมาณ โดยมี
เทคโนโลยี รวมทั้งปฏิสัมพันธ์กับหน่วยงานอื่นๆ และ จุดประสงค์ในการปรับปรุงประเด็นใดประเด็นหนึ่งในด้าน:
ช่วยเหลือหน่วยงานเหล่านั้นในการพัฒนาทักษะและ ประสิทธิภาพการใช้หรือการดูดใช้ธาตุอาหารของพืช
การปฏิบัติด้านวิชาการ การจัดระบบ และการจัดการเพื่อ ความต้านทานของพืชต่อความเครียดจากปัจจัยภายนอก
ปรับปรุงวิถีชีวิตและความเป็นอยู่ที่ดี หรือลักษณะเชิงคุณภาพของพืช
วนเกษตร (Agroforestry): ชื่อเรียกรวมส าหรับระบบ ภาคประชาสังคม (Civil society): ประกอบด้วยพลเมือง
การใช้ที่ดินและเทคโนโลยีที่ไม้ยืนต้น (เช่น ต้นไม้ พุ่มไม้ และผู้คนจากภูมิภาคต่างๆ ทั่วโลกที่มีการรวมตัวเป็นเขต
ต้นปาล์ม หรือไผ่ เป็นต้น) และผลิตผ ล (พืชและสัตว์) สมาคมและกลุ่มต่างๆ เพื่อสร้างความเข้มแข็ง
ทางการเกษตรถูกผลิตอยู่ในพื้นที่เดียวกัน ซึ่งต้องมี องค์กรภาคประชาสังคม (Civil society organiza-tion;
การจัดการเรื่องของเวลาและพื้นที่
CSO): FAO พิจารณา CSO ในฐานะผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่ไม่
การโฆษณาและประชาสัมพันธ์ (Advertising): ได้มาจากภาครัฐซึ่งจัดอยู่ในสามประเภทหลัก: องค์กรที่เป็น
การส่งเสริมการขายและการใช้ปุ๋ยที่กระท าโดยสื่อสิ่งพิมพ์ สมาชิกหลัก (Member based Organizations; MBO), NGOs
สื่ออิเล็กทรอนิกส์ สื่อสังคมออนไลน์ การเซ็นต์สัญญา และการเคลื่อนไหวทางสังคม (Social movements; SMs)
การจัดแสดงสินค้า ของขวัญ สาธิต หรือการบอกปากต่อปาก ซึ่งท างานในพื้นที่ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของ FAO
ด้วยลักษณะที่หลากหลายขององค์กรนี้ การจัดกลุ่ม CSO
การระเหยของแอมโมเนีย (Ammonia volatilization): จึงเป็นสิ่งที่ท้าทายและมีการทับซ้อนกันในบางครั้ง
การสูญเสียไนโตรเจนไ ป สู่ชั้นบรรยากาศในรูป ของ
แอมโมเนียหลังจากมีการใช้ปุ๋ย สารปนเปื้อน (Contaminant): สารประกอบที่ไม่ใช่ธาตุ
อาหารพืชแต่มีอยู่ในปุ๋ย อาจรวมถึงโลหะหนัก เชื้อโรค และ
ปุ๋ ยคอก (Animal manure): วัสดุจากการปศุสัตว์ที่ใช้เพื่อ ผลพลอยได้จากอุตสาหกรรม หรือสารอื่นๆ
วัตถุประสงค์ในการปรับปรุงดิน รวมถึง มูลสัตว์ ปัสสาวะ
ตะกอนปศุสัตว์ ฟางและวัสดุปูพื้นอื่นๆ ในคอกปศุสัตว์ ปุ๋ ยหมัก (Compost): ส่วนผสมอินทรียวัตถุที่มีการสลายตัว
เช่น จากใบพืชและปุ๋ยคอก ซึ่งใช้ในการปรับปรุงโครงสร้าง
อัตราการใช้งาน (Application rate): ปริมาณการใช้ปุ๋ย ของดินด้วยการเพิ่มคาร์บอนและให้ธาตุอาหารแก่ดิน
ต่อหน่วยพื้นที่และเวลา ตัวอย่าง เช่น ปริมาณการใช้ปุ๋ย
ต่อฤดูปลูกหรือปี เป็นต้น กากตะกอนที่เหลือจากการหมัก (Digestate): วัสดุที่
เหลืออยู่หลังจากเกิดการย่อยสลาย ซึ่งถูกน าไปใช้กับชีวมวล
คว า ม หลาก หลายทาง ชีวภ าพ ( Biodiversity): หรือวัสดุของเสีย เช่น ปุ๋ยคอก มูลสัตว์ กากตะกอนน ้าเสีย
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตซึ่งจ าเป็นต่อหน้าที่และ และขยะจากชุมชนเมือง
การบริการของระบบนิเวศ
6