Page 7 - หลักจรรยาบรรณสากลเพื่อการใช้และการจัดการปุ๋ยอย่างยั่งยืน (The International Code of Conduct for the Sustainable use and Management of fertilizers) : ปลจากเอกสารเผยแพร่ เรื่อง "Revised World Soil Chartar" ขององค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ (Food and Agriculture Organization (FAO) of the United Nations)
P. 7
บทสรุปผู้บริหาร
หลักจรรยาบรรณสากลเพื่อการใช้และการจัดการ หวังว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ จะมีส่วนช่วยใน
ปุ๋ ยอย่างยั่งยืนได้รับการพัฒนาขึ้นตามค าร้องขอของ การสนับสนุนการท าการเกษตรอย่างยั่งยืนและความมั่นคง
คณะกรรมการด้านเกษตร (Committee on Agriculture; ด้านอาหารในแง่ของการจัดการธาตุอาหาร โดยยึดมั่นและ
COAG) เพื่อเพิ่มความปลอดภัยทางอาหารและการใช้ปุ๋ย น าหลักการที่ระบุไว้ในหลักจรรยาบรรณ การใช้ปุ๋ยฉบับนี้ไป
อย่างปลอดภัย นอกจากนี้ยังเป็นการตอบสนองต่อปฏิญญา ปฏิบัติ
จากการประชุมสมัชชาสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ
สมัยที่สาม (the third United Nations Environment Assembly; ทั้งนี้ หลักจรรยาบรรณการใช้ปุ๋ยฯ ถือก าเนิดขึ้น
UNEA3) ที่เกี่ยวกับมลพิษในดิน ในขณะเดียวกันก็สนับสนุน จากกระบวนการปรึกษาหารือ ซึ่งริเริ่มขึ้นในเดือนธันวาคม
การด าเนินงานตามแนวปฏิบัติตามความสมัครใจเพื่อ พ.ศ. 2560 จนถึงเดือนกุมภาพันธ์ พ.ศ. 2561 ตามค าแนะน า
การจัดการดินอย่างยั่งยืน (VGSSM) หลักจรรยาบรรณ ของส านักงานของคณะกรรมการด้านเกษตร เนื่องจาก
การใช้ปุ๋ยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ไขปัญหาที่มีความส าคัญ การร้องขอจากการประชุมสมัชชาใหญ่สมัยที่ 6 ของสมัชชา
ระดับโลก ซึ่งช่วยในการด าเนินงานตามแผนการพัฒนา ความร่วมมือด้านทรัพยากรดินโลก (GSP) การประชุมสมัยที่
อย่างยั่งยืน (Sustainable Development Goals: SDGs) 26 ของคณะกรรมการด้านเกษตร (COAG) และการประชุม
สมัยที่ 160 ของสภามนตรี FAO ข้อความในเอกสารได้รับ
หลักจรรยาบรรณฉบับนี้ให้กรอบการด าเนินงาน การปรับปรุงตามข้อเสนอแนะและข้อคิดเห็นที่ได้รับ
และแนวปฏิบัติตามสมัครใจที่สามารถปรับให้เข้ากับสภาพ ในระหว่างการปรึกษาหารืออย่างละเอียด หลักจรรยาบรรณ
ของพื้นที่เพื่อให้เหมาะสมกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่เกี่ยวข้อง การใช้ปุ๋ยฉบับนี้ได้รับการรับรองโดยการประชุมสมัยที่ 41
กับปุ๋ยทั้งทางตรงและทางอ้อม ของ FAO ในเดือนมิถุนายน พ.ศ. 2562
ข