Page 27 - รายงานการสำรวจดินเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำคลองวังยาวแปลงที่ สบ. 4 จังหวัดสระบุรี : พื้นที่ดำเนินการ บ้านหนองมะกรูด หมู่ที่ 12 บ้านซับสนุ่น หมู่ที่ 9 บ้านซับขอน หมู่ที่ 12 และบ้านหนองจอก หมู่ที่ 8 ตำบลหนองย่างเสือ อำเภอมวกเหล็ก จังหวัดสระบุรี ลุ่มน่ำสาขาแม่น้ำป่าสักตอนล่าง (รหัส 1208) ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำป่าสัก (รหัส 12)
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       19


                       ตารางที่ 9 คาอัตรารอยละโซเดียมที่แลกเปลี่ยนได (Exchange sodium percentage: ESP) และ
                                 ระดับอันตรายที่เกิดจากโซดิกตอพืช

                            สัญลักษณ               คา ESP                      ระดับที่อันตราย

                               A0                     <15                     ไมอันตรายถึงเล็กนอย
                               A1                    15-30                    เล็กนอยถึงปานกลาง
                               A2                    30-50                    ปานกลางถึงสูง
                               A3                    50-70                    สูงถึงสูงมาก

                               A4                     >70                     สูงที่สุด

                              หนวยแผนที่ดิน (soil map units) หมายถึง หนวยหรือชื่อที่แสดงถึงลักษณะและสมบัติ

                       ของขอบเขตดินที่แสดงในแผนที่ ซึ่งอาจแสดงลักษณะของดินหรือพื้นที่เบ็ดเตล็ด อาจเปนหนวยเดี่ยว
                       หนวยรวม หรือหนวยปะปนกันก็ได หนวยแผนที่ดินสามารถแบงออกได 3 ประเภท ใหญ ๆ ไดแก
                       (สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน, 2551)

                                     1. หนวยดินเดี่ยว (consociations) เปนหนวยแผนที่ที่ประกอบดวยหนวยจําแนก
                       ดินเดี่ยว หรือหนวยพื้นที่เบ็ดเตล็ด (miscellaneous areas) เปนสวนใหญ โดยอยางนอยที่สุดจะตอง

                       มีปริมาณเนื้อที่มากกวารอยละ 75 ของพื้นที่ปรากฏอยูบนแผนที่ในแตละขอบเขตหนวยปะปน
                       (inclusions) ที่เหลือจะเปนดินที่มีลักษณะคลายคลึงกันและมีศักยภาพในการใชประโยชนเทาเทียม
                       กับหนวยดินหลักหรือที่เราเรียกวาดินคลายคลึงกันหรือเหมือนกัน (similar soils) กรณีที่ไดรวมเอา
                       ดินที่ไมคลายคลึงกันหรือไมเหมือนกัน (dissimilar soils) มาไวในหนวยแผนที่ดังกลาว ถาลักษณะที่

                       แตกตางกันนั้นเปนขอจํากัดในการใชประโยชนที่ดินจะตองมีพื้นที่รวมกันไมเกินรอยละ 15 ของพื้นที่
                       หนวยดินหลัก หรือถาลักษณะที่แตกตางกันนั้นไมเปนขอจํากัดในการใชประโยชนที่ดินจะตองมีพื้นที่

                       รวมไมเกินรอยละ 25 ของพื้นที่หนวยดินหลัก
                                     2. หนวยดินหลายชนิด เปนหนวยแผนที่ดินที่หนวยดินมีหลายชนิด ประกอบดวย
                       หนวยดินตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไป แบงออกเปน 3 หนวยดิน ไดแก

                                        1) หนวยดินสัมพันธ (soil associations) เปนหนวยแผนที่ที่ภายในขอบเขต
                       นั้น ๆ มีดินตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปซึ่งจะเกิดควบคูกันเสมอ และมีความสัมพันธกันในทางสภาพพื้นที่ เชน

                       ดินหนึ่งพบในที่สูงกวาและอีกดินหนึ่งพบในที่ต่ํากวา แตเนื่องจากขอจํากัดในเรื่องของมาตราสวนแผน
                       ที่จึงไมอาจแยกขอบเขตของดินออกจากกันได โดยปกติจะกําหนดไวที่มาตราสวน 1:24,000 หรือ
                       มาตราสวนเล็กกวา การใหชื่อหนวยแผนที่จะใชชื่อของดินที่พบเปนชื่อหนวยแผนที่โดยใชชื่อดินที่มี
                       เนื้อที่มากกวาเขียนนําหนา โดยมีเครื่องหมาย “/” คั่น และรายงานสัดสวนของหนวยดิน เชน A/B

                       (สัดสวน 60/40) หรือ A/B/C (สัดสวน 40/30/30) เปนตน
                                        2) หนวยดินเชิงซอน (soil complexes) เปนหนวยแผนที่ที่ภายในขอบเขตนั้น ๆ

                       มีดินตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปพิจารณาเชนเดียวกับหนวยดินสัมพันธ แมวามาตราสวนของแผนที่จะใหญขึ้น
                       (1:24,000 หรือมาตราสวนใหญกวา) ก็ยังไมสามารถแยกขอบเขตของดินเหลานั้นออกจากกันได
                       อาจเนื่องมาจากความซับซอนของพื้นที่ การใหชื่อหนวยแผนที่จะใชชื่อของดินทั้งหมดที่พบเปนชื่อของ
                       หนวยแผนที่ โดยใชชื่อดินที่มีเนื้อที่มากกวาเขียนนําหนาและเขียนเรียงกันไปตามลําดับ โดยมี

                       เครื่องหมาย “-” คั่น และรายงานสัดสวนของหนวยดิน เชน A-B (สัดสวน 70-30) เปนตน
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32